ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พึ่ง ศรีจันทร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sunset (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
| death_place =
| death_place =
<!----------พรรค---------->
<!----------พรรค---------->
| party = [[พรรคชาตินิยม]]
| party = [[พรรคสหชีพ]]
<!----------อื่นๆ---------->
<!----------อื่นๆ---------->
| spouse =คุ้ม ศรีจันทร์
| spouse =
| children =
| children =
}}
}}
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
พึ่ง ศรีจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2450 ที่บ้านท่าทราย ตำบลกง [[อำเภอกงไกรลาศ]] [[จังหวัดสุโขทัย]]<ref>[http://province.myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=27206 พึ่ง ศรีจันทร์] จาก province.myfirstinfo.com</ref>
นายพึ่ง ศรีจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2450 ที่เรือนแพใน[[แม่น้ำยม]] ที่บ้านท่าทราย ตำบลกง [[อำเภอกงไกรลาศ]] [[จังหวัดสุโขทัย]]<ref>[http://province.myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=27206 พึ่ง ศรีจันทร์] จาก province.myfirstinfo.com</ref>โดยไม่ทราบชื่อของบิดาและมารดา โดยนามสกุล "ศรีจันทร์" นั้นมาจากชื่อของปู่และย่ามาต่อกัน มารดาของนายพึ่งเสียชีวิตตั้งแต่นายพึ่งอายุได้แค่ 5 ขวบ และอีก 2 ปีต่อมาก็กำพร้าบิดา จึงมีตาและยายเป็นผู้เลี้ยงดู

จบการศึกษาจากโรงเรียนประชาบาลที่บ้านท่าทราย จากนั้นจึงย้ายมาศึกษาต่อในวระดับชั้นมัธยมศึกษาที่จังหวัดพิษณุโลก สามารถสอบได้เป็นที่ 1 ของโรงเรียน จนกระทั่งจบการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จึงเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม และเป็นหนึ่งในลูกศิษย์ของนาย[[ปรีดี พนมยงค์]] จบเนติบัณฑิตไทยในปี พ.ศ. 2469 จากนั้นได้ประกอบอาชีพทนายความที่จังหวัดเชียงใหม่อยู่ระยะหนึ่ง จากนั้นจึงได้ย้ายมาอาศัยอยู่ที่จังหวัดอุตรดิตถ์และประกอบอาชีพเกษตรกรและค้าไม้สักไปด้วย

ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย|สงครามโลกครั้งที่ 2]] นายพึ่งได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขบวนการ[[เสรีไทย]] รับผิดชอบภารกิจด้านจังหวัดพิษณุโลก, อุตรดิตถ์, สุโขทัย และตาก ปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นอย่างดี จนได้รับฉายาว่า ''"นายพลผึ้ง"''<ref name="หน้า"/>


== งานการเมือง ==
== งานการเมือง ==
พึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน [[พ.ศ. 2480]] และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมา รวม 4 สมัย อีกทั้งยังได้รับเลือกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร 1 สมัย และสมาชิกวุฒิสภา 1 สมัย
นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน [[พ.ศ. 2480]] และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมา รวม 4 สมัย อีกทั้งยังได้รับเลือกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร 1 สมัย และสมาชิกวุฒิสภา 1 สมัย


=== สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ===
=== สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ===
พึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 4 สมัย คือ
นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 4 สมัย คือ


# [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
# [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
บรรทัด 38: บรรทัด 42:


=== ประธานสภาผู้แทนราษฎร ===
=== ประธานสภาผู้แทนราษฎร ===
พึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 1 สมัย คือ
นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 1 สมัย คือ


# [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4|ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4]]
# [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4|ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4]]

โดยหลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหารในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490]] นายพึ่งในฐานะประธานสภาได้ทำการเปิดประชุมสภาขึ้น ในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เนื่องจากได้นัดหมายก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การประชุมก็ไม่เกิดขึ้นเนื่องจากสมาชิกมาไม่ครบ และเป็นนายทหาร คือ พันโท [[กาจ กาจสงคราม]] ต้องมาเชิญตัวออกไป<ref name="หน้า">หน้า 10 บทความ-การ์ตูน, ''พึ่ง ศรีจันทร์ : ประธานสภาสามัญชน''. "ส่วนร่วมสังคมไทย" โดย นรนิติ เศรษฐบุตร. '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,256: วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม</ref>


=== สมาชิกวุฒิสภา ===
=== สมาชิกวุฒิสภา ===
พึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภามาแล้ว 1 สมัย<ref>[http://www.senate.go.th/inforcenter/documents/list_senate1.pdf วุฒิสภา ชุดที่ ๑ (สมาชิกพฤฒสภา พ.ศ. ๒๔๘๙)]</ref>
นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภามาแล้ว 1 สมัย<ref>[http://www.senate.go.th/inforcenter/documents/list_senate1.pdf วุฒิสภา ชุดที่ ๑ (สมาชิกพฤฒสภา พ.ศ. ๒๔๘๙)]</ref>


# [[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 1]]
# [[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 1]]


=== รัฐมนตรี ===
=== รัฐมนตรี ===
พึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีมาแล้ว 2 สมัย คือ
นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีมาแล้ว 2 สมัย คือ


# [[รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง|รัฐมนตรี]] [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12]]
# [[รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง|รัฐมนตรี]] [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12]]
บรรทัด 54: บรรทัด 60:


== เสียชีวิต ==
== เสียชีวิต ==
พึ่ง ศรีจันทร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2535 สิริอายุได้ 85 ปี
นายพึ่ง ศรีจันทร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2535 สิริอายุได้ 85 ปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 64: บรรทัด 70:


{{เกิดปี|2450}}
{{เกิดปี|2450}}
{{ตายปี|}}
{{ตายปี|2535}}
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุโขทัย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุโขทัย]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]]
บรรทัด 71: บรรทัด 77:
[[หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง]]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง]]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง]]
[[category:สมาชิกขบวนการเสรีไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:46, 11 มีนาคม 2559

พึ่ง ศรีจันทร์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย
ดำรงตำแหน่ง
13 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
ก่อนหน้าเกษม บุญศรี
ถัดไปเกษม บุญศรี
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 พฤษภาคม พ.ศ. 2450
เสียชีวิต13 ตุลาคม พ.ศ. 2535 (อายุ 85 ปี)
พรรคการเมืองพรรคสหชีพ
คู่สมรสคุ้ม ศรีจันทร์

พึ่ง ศรีจันทร์ (14 พฤษภาคม พ.ศ. 2450 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2535) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 1 สมัย อดีตรัฐมนตรี 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์ 4 สมัย

ประวัติ

นายพึ่ง ศรีจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2450 ที่เรือนแพในแม่น้ำยม ที่บ้านท่าทราย ตำบลกง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย[1]โดยไม่ทราบชื่อของบิดาและมารดา โดยนามสกุล "ศรีจันทร์" นั้นมาจากชื่อของปู่และย่ามาต่อกัน มารดาของนายพึ่งเสียชีวิตตั้งแต่นายพึ่งอายุได้แค่ 5 ขวบ และอีก 2 ปีต่อมาก็กำพร้าบิดา จึงมีตาและยายเป็นผู้เลี้ยงดู

จบการศึกษาจากโรงเรียนประชาบาลที่บ้านท่าทราย จากนั้นจึงย้ายมาศึกษาต่อในวระดับชั้นมัธยมศึกษาที่จังหวัดพิษณุโลก สามารถสอบได้เป็นที่ 1 ของโรงเรียน จนกระทั่งจบการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จึงเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม และเป็นหนึ่งในลูกศิษย์ของนายปรีดี พนมยงค์ จบเนติบัณฑิตไทยในปี พ.ศ. 2469 จากนั้นได้ประกอบอาชีพทนายความที่จังหวัดเชียงใหม่อยู่ระยะหนึ่ง จากนั้นจึงได้ย้ายมาอาศัยอยู่ที่จังหวัดอุตรดิตถ์และประกอบอาชีพเกษตรกรและค้าไม้สักไปด้วย

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นายพึ่งได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย รับผิดชอบภารกิจด้านจังหวัดพิษณุโลก, อุตรดิตถ์, สุโขทัย และตาก ปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นอย่างดี จนได้รับฉายาว่า "นายพลผึ้ง"[2]

งานการเมือง

นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน พ.ศ. 2480 และได้รับเลือกตั้งเรื่อยมา รวม 4 สมัย อีกทั้งยังได้รับเลือกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร 1 สมัย และสมาชิกวุฒิสภา 1 สมัย

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 4 สมัย คือ

  1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480 จังหวัดอุตรดิตถ์
  2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481 จังหวัดอุตรดิตถ์
  3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 จังหวัดอุตรดิตถ์
  4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 จังหวัดอุตรดิตถ์ พรรคชาตินิยม[3]

ประธานสภาผู้แทนราษฎร

นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 1 สมัย คือ

  1. ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 4

โดยหลังการรัฐประหารในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นายพึ่งในฐานะประธานสภาได้ทำการเปิดประชุมสภาขึ้น ในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 เนื่องจากได้นัดหมายก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การประชุมก็ไม่เกิดขึ้นเนื่องจากสมาชิกมาไม่ครบ และเป็นนายทหาร คือ พันโท กาจ กาจสงคราม ต้องมาเชิญตัวออกไป[2]

สมาชิกวุฒิสภา

นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภามาแล้ว 1 สมัย[4]

  1. วุฒิสภาไทย ชุดที่ 1

รัฐมนตรี

นายพึ่ง ศรีจันทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีมาแล้ว 2 สมัย คือ

  1. รัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 12
  2. รัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 13

เสียชีวิต

นายพึ่ง ศรีจันทร์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2535 สิริอายุได้ 85 ปี

อ้างอิง

  1. พึ่ง ศรีจันทร์ จาก province.myfirstinfo.com
  2. 2.0 2.1 หน้า 10 บทความ-การ์ตูน, พึ่ง ศรีจันทร์ : ประธานสภาสามัญชน. "ส่วนร่วมสังคมไทย" โดย นรนิติ เศรษฐบุตร. เดลินิวส์ฉบับที่ 24,256: วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 4 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม
  3. [http://www.ryt9.com/s/refg/224295 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 8 พ.ศ. 2500/1 เลือกตั้งทั่วไป ครั้งที่ 7]
  4. วุฒิสภา ชุดที่ ๑ (สมาชิกพฤฒสภา พ.ศ. ๒๔๘๙)