ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใหญ่ลีกับนางมา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: ลบออกจาก ละครสร้างสรรค์สังคม
Tubtab (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
{{กล่องข้อมูล รายการโทรทัศน์
| show_name = ผู้ใหญ่ลีกับนางมา
| show_name = ผู้ใหญ่ลีกับนางมา
| en_name =
| en_name =
| image = [[ไฟล์:ผู้ใหญ่ลีกับนางมา 2528.jpg|200px|]]
| image = [[ไฟล์:ผู้ใหญ่ลีกับนางมา 2528.jpg|200px|]]
| caption =
| caption = ใบปิดภาพยนตร์''ผู้ใหญ่ลีกับนางมา'' ฉบับปี 2528
| format = [[ภาพยนตร์]], [[ละครโทรทัศน์]]
| format = [[ภาพยนตร์]], [[ละครโทรทัศน์]]
| runtime =
| writer = [[กาญจนา นาคนันทน์]] (บทประพันธ์)
| creator =
| writer = [[กาญจนา นาคนันทน์]] (บทประพันธ์)
| director =
| executive_producer =
| starring = '''[[พ.ศ. 2514]]'''<br>[[มีชัย วีระไวทยะ]]<br>[[ผานิต กันตามาระ]]<br>'''[[พ.ศ. 2520]]'''<br>[[นฤพนธ์ ดุริยพันธ์]]<br>[[กนกวรรณ ด่านอุดม]]<br>'''[[พ.ศ. 2528]]'''<br>[[ไพโรจน์ สังวริบุตร]]<br>[[จินตหรา สุขพัฒน์]]<br>'''[[พ.ศ. 2530]]'''<br>[[ทูน หิรัญทรัพย์]]<br>[[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]]<br>'''[[พ.ศ. 2539]]'''<br>[[อนันต์ บุนนาค]]<br>[[บุษกร พรวรรณะศิริเวช]]<br>'''[[พ.ศ. 2546]]'''<br>[[อัมรินทร์ นิติพน]]<br>[[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]]<br>'''[[พ.ศ. 2552]]'''<br>[[ทฤษฎี สหวงษ์]]<br>[[เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์]]
| theme_music_composer =
| network ='''ภาพยนตร์'''<br>[[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2528]]<br>'''ละครโทรทัศน์'''<br>[[ช่อง 9]] - [[พ.ศ. 2514]]<br>[[ช่อง 9]] - [[พ.ศ. 2520]]<br>[[ช่อง 3]] - [[พ.ศ. 2530]]<br>[[ช่อง 5]] - [[พ.ศ. 2539]]<br>[[ไอทีวี]] - [[พ.ศ. 2546]]<br>[[ช่อง 3]] - [[พ.ศ. 2552]]
| first_run =
| first_aired =
| last_aired =
| preceded_by =
| followed_by =
| related =
| website =
| imdb_id =
| tv_com_id =
}}
}}


'''''ผู้ใหญ่ลีกับนางมา''''' เป็นนวนิยายของ [[กาญจนา นาคนันทน์]] ที่แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506 ตีพิมพ์ พ.ศ. 2508<ref>[http://www.oknation.net/blog/mydiary/2007/04/18/entry-2 ทุ่งรังสิตฉากชีวิตผู้ใหญ่ลีกับนางมา] (ตอน 4) </ref> เป็นหนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้เป็นหนังสืออ่านนอกเวลา สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหลายปีมาแล้ว นวนิยายเรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้งมาแล้วและถูกนำมาสร้างเป็น[[ภาพยนตร์ไทย]]ออกฉายในปี [[พ.ศ. 2528]] กำกับโดย [[สักกะ จารุจินดา]] นำแสดงโดย [[ไพโรจน์ สังวริบุตร]], [[จินตหรา สุขพัฒน์]]
'''''ผู้ใหญ่ลีกับนางมา''''' เป็นนวนิยายของ [[กาญจนา นาคนันทน์]] ที่แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506 ตีพิมพ์ พ.ศ. 2508 <ref>[http://www.oknation.net/blog/mydiary/2007/04/18/entry-2 ทุ่งรังสิตฉากชีวิตผู้ใหญ่ลีกับนางมา] (ตอน 4) </ref> เป็นหนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้เป็นหนังสืออ่านนอกเวลา สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหลายปีมาแล้ว นวนิยายเรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้งมาแล้วและถูกนำมาสร้างเป็น[[ภาพยนตร์ไทย]]ออกฉายในปี [[พ.ศ. 2528]] กำกับโดย [[สักกะ จารุจินดา]] นำแสดงโดย [[ไพโรจน์ สังวริบุตร]], [[จินตหรา สุขพัฒน์]]


มีฉากท้องเรื่องคือ ทุ่ง[[รังสิต]] ใกล้กับ[[จังหวัดพระนคร]] ไม่เกี่ยวข้องกับเพลง[[ผู้ใหญ่ลี]] และเพลงอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น "ผู้ใหญ่ลีเข้ากรุง" "ผู้ใหญ่ลีหาคู่" "เมียผู้ใหญ่ลี" "ลูกสาวผู้ใหญ่ลี" "ผู้ใหญ่ลี ผู้ใหญ่มา" "ผู้ใหญ่ลีวาทูซี่" รวมไปถึงภาพยนตร์ ''ลูกสาวผู้ใหญ่ลี'' (2507) เกิดขึ้นใน[[ภาคอีสาน]]
ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ไม่เกี่ยวข้องกับเพลง[[ผู้ใหญ่ลี]] <ref>[http://www.oknation.net/blog/mydiary/2007/04/11/entry-1 ทุ่งรังสิตฉากชีวิตผู้ใหญ่ลีกับนางมา] (ตอน 1) </ref> ขับร้องโดย [[ศักดิ์ศรี ศรีอักษร]] ซึ่งบันทึกเสียงเมื่อ พ.ศ. 2507 ในเวลาใกล้เคียงกัน <ref>http://gotoknow.org/blog/beesman/46046</ref><ref>[http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic=3044.0 อาลัยตำนาน...ผู้ใหญ่ลี]</ref> เนื่องจากเรื่องราวในเรื่อง เกิดขึ้นที่ทุ่ง[[รังสิต]] ใกล้กับ[[จังหวัดพระนคร]] แต่ในเพลงผู้ใหญ่ลี และเพลงอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น "ผู้ใหญ่ลีเข้ากรุง" "ผู้ใหญ่ลีหาคู่" "เมียผู้ใหญ่ลี" "ลูกสาวผู้ใหญ่ลี" "ผู้ใหญ่ลี ผู้ใหญ่มา" "ผู้ใหญ่ลีวาทูซี่" รวมไปถึงภาพยนตร์ ''ลูกสาวผู้ใหญ่ลี'' (2507) เกิดขึ้นใน[[ภาคอีสาน]]


== เรื่องย่อ (ละคร พ.ศ. 2552) ==
== การสร้างเป็นสื่อ ==
เป็นเรื่องราวของ มาลินี เป็นนางแบบที่สวย มีแฟนชื่อว่า ประดิษฐ์ เป็นคนเจ้าชู้ จนทำให้มาลินีจับได้ มาลินีจึงโกธรมาก วันหนึ่ง มาลินีได้รับจดหมายของคุณยายวัน มาลินีไม่สนิทกับคุณยายของเธอ ในขณะที่เธอได้อ่านจดหมายคุณยายวันได้ตายไปแล้ว โดยคุณยายวันให้ไปรับมรดกบ้านกับที่ไร่นาหลายร้อยไร่ คุณยายของเธอมีความประสงค์ให้มาลินีไปทำไร่นาแทนท่าน และห้ามไม่ให้หลานให้คนอื่นเช่าทำเด็ดขาด หรือถ้าคิดจะขายก็ให้ขายกับผู้ใหญ่ลีคนเดียว ห้ามขายให้กับคนอื่นเช่นเดียวกัน มาลินีได้แปลกว่าผู้ใหญ่ลีนั้นเป็นใคร

ผู้ใหญ่ลี หรือ ลีนวัตร เป็นผู้ที่คุณนายวันให้ความรักและความเอ็นดูเป็นอย่างมาก คุณนายวันได้คอยสนับสนุนให้เรียนต่อและเรียนที่สูงๆ จนทำให้ลีนวัตรเป็นผู้ใหญ่ลีต่อจากพ่อของลีนวัตร มาลินีมาถึงบ้านคุณยาย จึงรู้ว่าคุณยายตายมาได้สองอาทิตย์แล้ว โดยผู้ใหญ่ลีเป็นคนจัดการเรื่องทุกอย่าง แต่มาลินีเพิ่งได้รับจดหมายของคุณยายเมื่อไม่กี่วัน ชาวบ้านจึงได้ตำหนิ มาลินีจึงโกรธผู้ใหญ่ลีเป็นอย่างมาก

ปื๊ด เป็นเด็กกำพร้าที่ผู้ใหญ่ลีเก็บมาเลี้ยง ได้รับมอบหมายจากพ่อผู้ใหญ่ให้คอยดูแลมาลินี แต่มักจะคอยเก็บข้อมูลในตัวมาลินีมาบอกผู้ใหญ่ทุกเรื่อง ผู้ใหญ่ลี ได้ปลอมตัวเป็นนายเหว่าเป็นคนขับรถไถนาให้ผู้ใหญ่ลี มาลินีประทับใจเป็นอย่างมาก จนกระทั่ง ถูกเปิดเผยว่านายเหว่านั้นคือผู้ใหญ่ลี ในงานบรรจุเก็บศพของคุณนายวันที่วัด ทำให้มาลินีโกธรมาก แต่ผู้ใหญ่ลีต้องมาคอยดูแลช่วยเหลือเรื่องการงานทุกอย่างของมาลินี

วันหนึ่ง ประดิษฐ์ซึ่งรู้ว่ามาลินีมาอยู่ที่นี่ และรู้ว่ามาลินีให้ไปรับมรดกของคุณยายมากมาย จึงเดินทางมาหามาลินีหวังจะขอคืนดี แต่มาลินีไม่ยอมคืนดีด้วย เพราะไม่ได้ขยันทำมาหากินและช่วยเหลือสังคม ปทุม ลูกสาวของผู้ใหญ่โหมด ที่ชอบผู้ใหญ่ลีอย่างมาก แต่ผู้ใหญ่ลีก็ไม่เคยสนใจปทุมเลย ปทุมจึงร่วมมือกับประดิษฐ์ วางแผนกัน โดยให้ประดิษฐ์หลอกให้มาลินีมาพบที่กระท่อมกับที่ปทุมเองก็แอบมาดักรอพบผู้ใหญ่ลีที่กองฟางเช่นเดียวกัน ในตอนค่ำ
ฝนตกหนัก ไฟก็ดับ ผู้ใหญ่ลีเดินมาพบมาลินีเสียก่อน จึงไปหลบฝนที่บ้านมาลินี ผู้ใหญ่ลีก็หมั้นหมายมาลินีด้วยแหวนอีกหนึ่งวง ผู้ใหญ่ลีสัญญาว่า หากบวชแล้วสึกออกมาเมื่อไหร่ จะแต่งงานกับมาลินีทันที

ทั้งประดิษฐ์และปทุมต่างรอมาลินีกับผู้ใหญ่ลี ทั้งคู่ต้องเข้าไปหลบฝนในกระท่อมอันมืดมิด ประดิษฐ์เข้าใจว่าปทุมเป็นมาลินีจึงปลุกปล้ำจนได้ พอตื่นเช้ามาจึงได้รู้ว่าตนเข้าใจผิดแต่ก็ได้ปทุมเป็นเมียเสียแล้ว ผู้ใหญ่ลีก็เข้าพิธีอุปสมบท ระหว่างที่บวชนั้น ประดิษฐ์ได้แอบพาฉลวย น้องสาวของผู้ใหญ่ลีอีกคน เข้ากรุงเทพฯ ไปถ่ายโป๊ พอดีมาลินีรู้ข่าวเสียก่อน จึงไปตามไปช่วยฉลวยได้ทัน พระผู้ใหญ่ลีเองก็มากับปื๊ด เพื่อมาช่วยฉลวยอีกแรง พระผู้ใหญ่ลีให้ฉลวยกลับไปเรียนที่บ้านตัวเอง อย่ามาดิ้นรนเพื่อจะเข้ามาอยู่กรุงเทพฯ ฉลวยสำนึกผิด ยอมกลับบ้านแต่โดยดี ฉลวยก็กลับมาเรียนหนังสือที่ต่างจังหวัด ไม่ไปกรุงเทพฯอีกแล้ว

ปทุมมีอาการแพ้ท้องอย่างหนัก ผู้ใหญ่โหมดเข้าใจผิดคิดว่าผู้ใหญ่ลีเป็นพ่อของเด็กในท้อง จึงตั้งใจจะศึกพระให้ได้ แต่เมื่อความจริงเปิดเผยมาว่า ประดิษฐ์คือพ่อของเด็กในท้อง ประดิษฐ์กลายเป็นลูกเขยของผู้ใหญ่โหมดอย่างจำยอม แต่เขาก็ต้องจำยอมเพราะรู้ดีว่า หากไม่ยอมรับปทุมเป็นเมีย ประดิษฐ์ต้องถูกผู้ใหญ่โหมดเอาตายอย่างแน่นอน ประดิษฐ์ก็รับกรรมที่ก่อไป

ผู้ใหญ่ลีสึกออกมาในที่สุด ผู้ใหญ่ลีจึงขอมาลินีแต่งงานในที่สุด ความรักของทั้งสองกำลังเบิกบานในทุ่งนาของคุณนายวัน ที่มอบไว้เป็นสมบัติให้กับมาลินี ผู้ใหญ่ลีกับนางมาจึงได้ครองคู่กันในที่สุด
อิอิ

== ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ ==
'''ผู้ใหญ่ลีกับนางมา''' ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้งและถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งเดียวในปี พ.ศ. 2528 มีรายระเอียดดังนี้

=== ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2514 ===
สำหรับละครโทรทัศน์ครั้งแรกทางทาง [[ช่อง 4 บางขุนพรหม]] เมื่อประมาณปี [[พ.ศ. 2514]] นำแสดงโดย [[มีชัย วีระไวทยะ]] และ [[ผานิต กันตามาระ]]<ref>อ.ผานิต กันตามาระ เคยให้สัมภาษณ์ ท่านบอกว่าแสดงเป็นนางเอกเรื่องผู้ใหญ่ลีกับนางมา.</ref>

=== ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2520 ===
ครั้งที่สองทาง[[สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9]] เมื่อปี พ.ศ. 2520 นำแสดงโดย [[นฤพนธ์ ดุริยพันธ์]] และ [[กนกวรรณ ด่านอุดม]] เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ [[21 เมษายน]] พ.ศ. 2520<ref>http://topicstock.pantip.com/chalermthai/topicstock/2010/12/A10064795/A10064795.html</ref>

=== ภาพยนตร์ พ.ศ. 2528 ===
ครั้งที่ 3 เมื่อปี พ.ศ. 2528 ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกและครั้งเดียว สร้างโดย [[ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น]] กำกับโดย [[สักกะ จารุจินดา]]นำแสดงโดย [[ไพโรจน์ สังวริบุตร]] รับบท ผู้ใหญ่ลี หรือ ลีนวัตร และ [[จินตหรา สุขพัฒน์]] รับบท มาลินี เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของ จินตหรา สุขพัฒน์ ออกฉายเมื่อวันที่ [[29 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2528]] ฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เอเธนส์

ร่วมด้วย [[อำภา ภูษิต]] (ปทุม), [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] (ป้าปุย), [[อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ]] (นางพิน), [[จีรศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ]] (จีรศักดิ์), [[กฤษ สวัสดิเกียรติ]] (ประดิษฐ์), ด.ช. [[จักรกฤช คชรัตน์]] (ปื๊ด), [[จุรี โอศิริ]] (คุณนายวัน) <ref>[http://web.archive.org/20101218204914/70-90memory.blogspot.com/2009/12/1985_22.html always on my mind...: ผู้ใหญ่ลีกับนางมา (1985)]</ref>

=== ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2530 ===
ครั้งที่ 4 ทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] เมื่อปี พ.ศ. 2530 นำแสดงโดย [[ทูน หิรัญทรัพย์]] และ[[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]] โดยเป็นการก้าวสู่วงการละครโทรทัศน์ครั้งแรกของเธอด้วย ร่วมด้วย [[อลิษา ขจรไชยกุล]], [[สมจินต์ ธรรมทัต]], [[ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ]]

=== ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2539 ===
ครั้งที่ 5 ทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก]] เมื่อปี พ.ศ. 2538 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.00-10.00 น. นำแสดงโดย [[อนันต์ บุนนาค]] และ [[บุษกร พรวรรณะศิริเวช]]

ร่วมด้วย [[ศิริพร อยู่ยอด]], [[นัย สุขสกุล]], [[กิตติพันธ์ พุ่มสุขโข]], [[กุ้งนาง ปัทมสูต]], [[อรุโณทัย นฤนาท]], [[ศิริพจน์ เจนวัฒน์]], [[ปวันรัตน์ นาคสุริยะ]], [[เฉิน เชิญยิ้ม]], [[พิศมัย วิไลศักดิ์]], [[พูนสวัสดิ์ ธีมากร]], [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]], [[วิมลพรรณ ชาลีจังหาญ]], [[จารุณี โชติรัตน์]], [[ตรีนุช ทิมเจริญ]], ด.ช. [[ชลทิศ สุขเจริญ]], [[ประไพ สิโนทก]]

=== ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546 ===
ครั้งที่ 6 ทาง[[สถานีโทรทัศน์ไอทีวี]] เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2546 ทุกวันพฤหัสบดี-ศุกร์ เวลา 18.05-19.00 น.(ออกอากาศซ้ำในปีพ.ศ. 2547 ในช่วงละครเด็ด 11 โมง) นำแสดงโดย [[อัมรินทร์ นิติพน]] และ[[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] <ref>[http://movie.sanook.com/drama/drama_06297.php ละคร ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ทาง ไอทีวี] </ref>

ร่วมด้วย [[ทัศนาวลัย องอาจสิทธิชัย]], [[เอกชัย วริทธิ์ษราพร]], [[นพพร ชุ่มใจ]], [[พิศมัย วิไลศักดิ์]], [[โอลิเวอร์ บีเวอร์]], [[ปิยะ เศวตพิกุล]], [[กรุง ศรีวิไล]], [[อำภา ภูษิต]], [[ธิติยา นพพงษากิจ]], [[ฤทธิ์ ลือชา]], [[วิยะดา อุมารินทร์]], [[ธีรวัฒน์ ทองจิตติ]], [[ถั่วแระ เชิญยิ้ม]], [[จารุณี โชติรัตน์]], [[ปาจรีย์ ณ นคร]], [[ประภา เทียนทอง]], [[วจสา เท่าเนตรสุวรรณ]], ด.ญ. [[โจแอน วงศ์งาม]], [[จิระศักดิ์ ศรีวิชัย]], [[ปนัดดา โกมารทัต]], [[อรุโนทัย นฤนาท]], [[เวนย์ ฟอลโคเนอร์]]

=== ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2552 ===
และครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2552 ได้ถูกนำมาสร้างเป็นละครอีกครั้ง ทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] ทุกวันศุกร์, เสาร์ และอาทิตย์ เวลา 20.30 น. นำแสดงโดย [[ทฤษฎี สหวงษ์]] และ[[เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์]]

ร่วมด้วย [[เกียรติกมล ล่าทา]], [[วิรากานต์ เสณีตันติกุล]], [[วรัญญา เจริญพรสิริสุข]], [[พิมพ์ชนก พลบูรณ์]], [[สาวิตรี สามิภักดิ์]], [[ศานติ สันติเวชกุล]], [[อชิตะ วุฒินันท์สุระสิทธิ์]], [[ดารณีนุช โพธิปิติ]], [[บริบูรณ์ จันทร์เรือง]], [[พิศมัย วิไลศักดิ์]], [[ริชาร์ด เกียนี่]]

== รายชื่อนักแสดง ==
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
|-
|-
บรรทัด 31: บรรทัด 95:
| ฉลวย || || || || || จารุณี โชติรัตน์ || จารุณี โชติรัตน์ || [[พิมพ์ชนก พลบูรณ์]]
| ฉลวย || || || || || จารุณี โชติรัตน์ || จารุณี โชติรัตน์ || [[พิมพ์ชนก พลบูรณ์]]
|-
|-
| ผู้ใหญ่ลีบ้านคลองหมาหอน (ลีนวัตร) || [[มีชัย วีระไวทยะ]] || นฤพนธ์ ดุริยพันธ์ || [[ไพโรจน์ สังวริบุตร]] || [[ทูน หิรัญทรัพย์]] || [[อนันต์ บุนนาค]] || [[อัมรินทร์ นิติพน]] || [[ทฤษฎี สหวงษ์]]
| ผู้ใหญ่ลี (ลีนวัตร) || [[มีชัย วีระไวทยะ]] || นฤพนธ์ ดุริยพันธ์ || [[ไพโรจน์ สังวริบุตร]] || [[ทูน หิรัญทรัพย์]] || [[อนันต์ บุนนาค]] || [[อัมรินทร์ นิติพน]] || [[ทฤษฎี สหวงษ์]]
|-
|-
| นางมา (มาลินี รูปสุวรรณ) || ผาณิต กันตามระ || [[กนกวรรณ ด่านอุดม]] || [[จินตหรา สุขพัฒน์]] || [[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]] || [[บุษกร พรวรรณะศิริเวช]] || [[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] || [[เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์]]
| นางมา (มาลินี) || ผาณิต กันตามระ || [[กนกวรรณ ด่านอุดม]] || [[จินตหรา สุขพัฒน์]] || [[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]] || [[บุษกร พรวรรณะศิริเวช]] || [[ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์]] || [[เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์]]
|-
| ประดิษฐ์/ดิก (อรรถ) || || || กฤษ สวัสดิเกียรติ || || กิตติพันธ์ พุ่มสุขโข || [[โอลิเวอร์ บีเวอร์]] || [[เกียรติกมล ล่าทา]]
|-
|-
| ปทุม (วลัยสมร) || || || [[อำภา ภูษิต]] || [[อลิษา ขจรไชยกุล]] || [[ศิริพร อยู่ยอด]] || ธิติยา นพพงษากิจ || [[วิรากานต์ เสณีตันติกุล]]
| ปทุม (วลัยสมร) || || || [[อำภา ภูษิต]] || [[อลิษา ขจรไชยกุล]] || [[ศิริพร อยู่ยอด]] || ธิติยา นพพงษากิจ || [[วิรากานต์ เสณีตันติกุล]]
|-
|-
| ประดิษฐ์ (อรรถ) || || || กฤษ สวัสดิเกียรติ || || กิตติพันธ์ พุ่มสุขโข || [[โอลิเวอร์ บีเวอร์]] || [[เกียรติกมล ล่าทา]]
| ผู้ใหญ่โหมด || || || || || || || [[ศานติ สันติเวชชกุล]]
|-
|-
| ป้าปุย || || || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] || || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] || [[สาวิตรี สามิภักดิ์]]
| ป้าปุย || || || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] || || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]] || [[สาวิตรี สามิภักดิ์]]
|-
| นายทองใบ || || || || || || || [[ตี๋ ดอกสะเดา]]
|-
| พิน || || || [[อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ]] || || [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]] || [[วิยะดา อุมารินทร์]] || [[ดารณีนุช โพธิปิติ]]
|-
|-
| นายเหว่า || || || [[ธงชัย ประสงค์สันติ]] || || นัย สุขสกุล || ธีรวัฒน์ ทองจิตติ || [[บริบูรณ์ จันทร์เรือง]]
| นายเหว่า || || || [[ธงชัย ประสงค์สันติ]] || || นัย สุขสกุล || ธีรวัฒน์ ทองจิตติ || [[บริบูรณ์ จันทร์เรือง]]
|-
|-
| เฉลา/นางเหลา || || || || || วิมลพรรณ ชาลีจังหาญ || [[ปาจรีย์ ณ นคร]] || [[วรัญญา เจริญพรสิริสุข]]
| เฉลา || || || || || วิมลพรรณ ชาลีจังหาญ || [[ปาจรีย์ ณ นคร]] || [[วรัญญา เจริญพรสิริสุข]]
|-
|-
| พิน || || || [[อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ]] || || [[อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา]] || [[วิยะดา อุมารินทร์]] || [[ดารณีนุช โพธิปิติ]]
| วลัย || || || || || || || [[เฟี้ยวฟ้าว สุดสวิงริงโก้]]
|-
| สมร || || || || || || || [[ชมพู่ ก่อนบ่าย]]
|-
| ฉรวย โรงประนารมย์/นางหรวย || || || || || || || [[พิมพ์ชนก พลบูรณ์]]
|-
| คุณนายวัน (รับเชิญ) || || || [[จุรี โอศิริ]] || [[ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ]] || [[รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง]] || [[ปนัดดา โกมารทัต]] || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]]
|-
| บ๊วย/เบิร์ด (รับเชิญ) || || || || || || || [[ปิยะ เศวตพิกุล]]
|-
| หลวงพ่อ (รับเชิญ) || || || || || || || [[กล้วย เชิญยิ้ม]]
|-
| แม่เพ็ญ (รับเชิญ) || || || || || || || [[ณัฐนี สิทธิสมาน]]
|-
| ผู้ใหญ่ลี๋บ้านคลองหมาเห่า (รับเชิญ) || || || || || || || [[โย่ง เชิญยิ้ม]]
|-
| แกะ/ผู้จัดละคร (รับเชิญ) || || || || || || || [[เอ๋ เชิญยิ้ม]]
|-
| ผู้ใหญ่ลอย (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| เพื่อนของดิก (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| พนักงานประชาสัมพันธ์ห้องแถวแบบตึก (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ลีนวัตร/ตอนเด็ก (รับเชิญ) || || || || || || || ด.ช.
|-
| มาลินี/ตอนเด็ก (รับเชิญ) || || || || || || || ด.ญ.
|-
| คุณลุง/คนขับรถโดยสารสองแถว (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| คุณป้า/ผู้โดยสารรถสองแถว (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ลุง/เจ้าของร้านขายของชำ (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| เฉาก๋วย/ชื่อกระบือ (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ภรรยาของผู้ใหญ่ลี (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ลุงเสริฐ/ชาวบ้าน (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| พนักงานส่งอาหารห้องแถว (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| พ่อค้าขายมือถือ (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ลุง/พ่อค้าขายมะพร้าว (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| หวาน (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| คนขับรถแท็กซี่ (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| นายก อบต. (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| พี่ต้อย/นักออกแบบเสื้อผ้า (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| คนขายเครื่องดื่มน้ำอัดลมในงานวัด (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ลุงน้อย/ชาวบ้าน (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| กำนันวิเชียร หอมหวน (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ครูใหญ่โรงเรียน (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| เกร (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
| ปุ้ย (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
|-
| คุณนายวัน || || || [[จุรี โอศิริ]] || [[ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ]] || [[รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง]] || [[ปนัดดา โกมารทัต]] || [[พิศมัย วิไลศักดิ์]]
| คทาเทพ (รับเชิญ) || || || || || || ||
|-
|-
|}
|}
บรรทัด 134: บรรทัด 128:
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่สร้างจากนิยาย]]
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่สร้างจากนิยาย]]
[[หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทย]]
[[หมวดหมู่:ละครสร้างสรรค์สังคม]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมที่สร้างเป็นละครโทรทัศน์]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมที่สร้างเป็นละครโทรทัศน์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:30, 7 มีนาคม 2559

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา
เขียนโดยกาญจนา นาคนันทน์ (บทประพันธ์)
แสดงนำพ.ศ. 2514
มีชัย วีระไวทยะ
ผานิต กันตามาระ
พ.ศ. 2520
นฤพนธ์ ดุริยพันธ์
กนกวรรณ ด่านอุดม
พ.ศ. 2528
ไพโรจน์ สังวริบุตร
จินตหรา สุขพัฒน์
พ.ศ. 2530
ทูน หิรัญทรัพย์
เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์
พ.ศ. 2539
อนันต์ บุนนาค
บุษกร พรวรรณะศิริเวช
พ.ศ. 2546
อัมรินทร์ นิติพน
ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์
พ.ศ. 2552
ทฤษฎี สหวงษ์
เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์
ออกอากาศ
เครือข่ายภาพยนตร์
29 มิถุนายน พ.ศ. 2528
ละครโทรทัศน์
ช่อง 9 - พ.ศ. 2514
ช่อง 9 - พ.ศ. 2520
ช่อง 3 - พ.ศ. 2530
ช่อง 5 - พ.ศ. 2539
ไอทีวี - พ.ศ. 2546
ช่อง 3 - พ.ศ. 2552

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา เป็นนวนิยายของ กาญจนา นาคนันทน์ ที่แต่งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506 ตีพิมพ์ พ.ศ. 2508 [1] เป็นหนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้เป็นหนังสืออ่านนอกเวลา สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหลายปีมาแล้ว นวนิยายเรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้งมาแล้วและถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ไทยออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย สักกะ จารุจินดา นำแสดงโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร, จินตหรา สุขพัฒน์

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ไม่เกี่ยวข้องกับเพลงผู้ใหญ่ลี [2] ขับร้องโดย ศักดิ์ศรี ศรีอักษร ซึ่งบันทึกเสียงเมื่อ พ.ศ. 2507 ในเวลาใกล้เคียงกัน [3][4] เนื่องจากเรื่องราวในเรื่อง เกิดขึ้นที่ทุ่งรังสิต ใกล้กับจังหวัดพระนคร แต่ในเพลงผู้ใหญ่ลี และเพลงอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น "ผู้ใหญ่ลีเข้ากรุง" "ผู้ใหญ่ลีหาคู่" "เมียผู้ใหญ่ลี" "ลูกสาวผู้ใหญ่ลี" "ผู้ใหญ่ลี ผู้ใหญ่มา" "ผู้ใหญ่ลีวาทูซี่" รวมไปถึงภาพยนตร์ ลูกสาวผู้ใหญ่ลี (2507) เกิดขึ้นในภาคอีสาน

เรื่องย่อ (ละคร พ.ศ. 2552)

เป็นเรื่องราวของ มาลินี เป็นนางแบบที่สวย มีแฟนชื่อว่า ประดิษฐ์ เป็นคนเจ้าชู้ จนทำให้มาลินีจับได้ มาลินีจึงโกธรมาก วันหนึ่ง มาลินีได้รับจดหมายของคุณยายวัน มาลินีไม่สนิทกับคุณยายของเธอ ในขณะที่เธอได้อ่านจดหมายคุณยายวันได้ตายไปแล้ว โดยคุณยายวันให้ไปรับมรดกบ้านกับที่ไร่นาหลายร้อยไร่ คุณยายของเธอมีความประสงค์ให้มาลินีไปทำไร่นาแทนท่าน และห้ามไม่ให้หลานให้คนอื่นเช่าทำเด็ดขาด หรือถ้าคิดจะขายก็ให้ขายกับผู้ใหญ่ลีคนเดียว ห้ามขายให้กับคนอื่นเช่นเดียวกัน มาลินีได้แปลกว่าผู้ใหญ่ลีนั้นเป็นใคร

ผู้ใหญ่ลี หรือ ลีนวัตร เป็นผู้ที่คุณนายวันให้ความรักและความเอ็นดูเป็นอย่างมาก คุณนายวันได้คอยสนับสนุนให้เรียนต่อและเรียนที่สูงๆ จนทำให้ลีนวัตรเป็นผู้ใหญ่ลีต่อจากพ่อของลีนวัตร มาลินีมาถึงบ้านคุณยาย จึงรู้ว่าคุณยายตายมาได้สองอาทิตย์แล้ว โดยผู้ใหญ่ลีเป็นคนจัดการเรื่องทุกอย่าง แต่มาลินีเพิ่งได้รับจดหมายของคุณยายเมื่อไม่กี่วัน ชาวบ้านจึงได้ตำหนิ มาลินีจึงโกรธผู้ใหญ่ลีเป็นอย่างมาก

ปื๊ด เป็นเด็กกำพร้าที่ผู้ใหญ่ลีเก็บมาเลี้ยง ได้รับมอบหมายจากพ่อผู้ใหญ่ให้คอยดูแลมาลินี แต่มักจะคอยเก็บข้อมูลในตัวมาลินีมาบอกผู้ใหญ่ทุกเรื่อง ผู้ใหญ่ลี ได้ปลอมตัวเป็นนายเหว่าเป็นคนขับรถไถนาให้ผู้ใหญ่ลี มาลินีประทับใจเป็นอย่างมาก จนกระทั่ง ถูกเปิดเผยว่านายเหว่านั้นคือผู้ใหญ่ลี ในงานบรรจุเก็บศพของคุณนายวันที่วัด ทำให้มาลินีโกธรมาก แต่ผู้ใหญ่ลีต้องมาคอยดูแลช่วยเหลือเรื่องการงานทุกอย่างของมาลินี

วันหนึ่ง ประดิษฐ์ซึ่งรู้ว่ามาลินีมาอยู่ที่นี่ และรู้ว่ามาลินีให้ไปรับมรดกของคุณยายมากมาย จึงเดินทางมาหามาลินีหวังจะขอคืนดี แต่มาลินีไม่ยอมคืนดีด้วย เพราะไม่ได้ขยันทำมาหากินและช่วยเหลือสังคม ปทุม ลูกสาวของผู้ใหญ่โหมด ที่ชอบผู้ใหญ่ลีอย่างมาก แต่ผู้ใหญ่ลีก็ไม่เคยสนใจปทุมเลย ปทุมจึงร่วมมือกับประดิษฐ์ วางแผนกัน โดยให้ประดิษฐ์หลอกให้มาลินีมาพบที่กระท่อมกับที่ปทุมเองก็แอบมาดักรอพบผู้ใหญ่ลีที่กองฟางเช่นเดียวกัน ในตอนค่ำ ฝนตกหนัก ไฟก็ดับ ผู้ใหญ่ลีเดินมาพบมาลินีเสียก่อน จึงไปหลบฝนที่บ้านมาลินี ผู้ใหญ่ลีก็หมั้นหมายมาลินีด้วยแหวนอีกหนึ่งวง ผู้ใหญ่ลีสัญญาว่า หากบวชแล้วสึกออกมาเมื่อไหร่ จะแต่งงานกับมาลินีทันที

ทั้งประดิษฐ์และปทุมต่างรอมาลินีกับผู้ใหญ่ลี ทั้งคู่ต้องเข้าไปหลบฝนในกระท่อมอันมืดมิด ประดิษฐ์เข้าใจว่าปทุมเป็นมาลินีจึงปลุกปล้ำจนได้ พอตื่นเช้ามาจึงได้รู้ว่าตนเข้าใจผิดแต่ก็ได้ปทุมเป็นเมียเสียแล้ว ผู้ใหญ่ลีก็เข้าพิธีอุปสมบท ระหว่างที่บวชนั้น ประดิษฐ์ได้แอบพาฉลวย น้องสาวของผู้ใหญ่ลีอีกคน เข้ากรุงเทพฯ ไปถ่ายโป๊ พอดีมาลินีรู้ข่าวเสียก่อน จึงไปตามไปช่วยฉลวยได้ทัน พระผู้ใหญ่ลีเองก็มากับปื๊ด เพื่อมาช่วยฉลวยอีกแรง พระผู้ใหญ่ลีให้ฉลวยกลับไปเรียนที่บ้านตัวเอง อย่ามาดิ้นรนเพื่อจะเข้ามาอยู่กรุงเทพฯ ฉลวยสำนึกผิด ยอมกลับบ้านแต่โดยดี ฉลวยก็กลับมาเรียนหนังสือที่ต่างจังหวัด ไม่ไปกรุงเทพฯอีกแล้ว

ปทุมมีอาการแพ้ท้องอย่างหนัก ผู้ใหญ่โหมดเข้าใจผิดคิดว่าผู้ใหญ่ลีเป็นพ่อของเด็กในท้อง จึงตั้งใจจะศึกพระให้ได้ แต่เมื่อความจริงเปิดเผยมาว่า ประดิษฐ์คือพ่อของเด็กในท้อง ประดิษฐ์กลายเป็นลูกเขยของผู้ใหญ่โหมดอย่างจำยอม แต่เขาก็ต้องจำยอมเพราะรู้ดีว่า หากไม่ยอมรับปทุมเป็นเมีย ประดิษฐ์ต้องถูกผู้ใหญ่โหมดเอาตายอย่างแน่นอน ประดิษฐ์ก็รับกรรมที่ก่อไป

ผู้ใหญ่ลีสึกออกมาในที่สุด ผู้ใหญ่ลีจึงขอมาลินีแต่งงานในที่สุด ความรักของทั้งสองกำลังเบิกบานในทุ่งนาของคุณนายวัน ที่มอบไว้เป็นสมบัติให้กับมาลินี ผู้ใหญ่ลีกับนางมาจึงได้ครองคู่กันในที่สุด อิอิ

ละครโทรทัศน์และภาพยนตร์

ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้งและถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งเดียวในปี พ.ศ. 2528 มีรายระเอียดดังนี้

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2514

สำหรับละครโทรทัศน์ครั้งแรกทางทาง ช่อง 4 บางขุนพรหม เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2514 นำแสดงโดย มีชัย วีระไวทยะ และ ผานิต กันตามาระ[5]

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2520

ครั้งที่สองทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 เมื่อปี พ.ศ. 2520 นำแสดงโดย นฤพนธ์ ดุริยพันธ์ และ กนกวรรณ ด่านอุดม เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2520[6]

ภาพยนตร์ พ.ศ. 2528

ครั้งที่ 3 เมื่อปี พ.ศ. 2528 ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ครั้งแรกและครั้งเดียว สร้างโดย ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น กำกับโดย สักกะ จารุจินดานำแสดงโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร รับบท ผู้ใหญ่ลี หรือ ลีนวัตร และ จินตหรา สุขพัฒน์ รับบท มาลินี เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของ จินตหรา สุขพัฒน์ ออกฉายเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2528 ฉายครั้งแรกที่โรงภาพยนตร์เอเธนส์

ร่วมด้วย อำภา ภูษิต (ปทุม), พิศมัย วิไลศักดิ์ (ป้าปุย), อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (นางพิน), จีรศักดิ์ ปิ่นสุวรรณ (จีรศักดิ์), กฤษ สวัสดิเกียรติ (ประดิษฐ์), ด.ช. จักรกฤช คชรัตน์ (ปื๊ด), จุรี โอศิริ (คุณนายวัน) [7]

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2530

ครั้งที่ 4 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อปี พ.ศ. 2530 นำแสดงโดย ทูน หิรัญทรัพย์ และเนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ โดยเป็นการก้าวสู่วงการละครโทรทัศน์ครั้งแรกของเธอด้วย ร่วมด้วย อลิษา ขจรไชยกุล, สมจินต์ ธรรมทัต, ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2539

ครั้งที่ 5 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก เมื่อปี พ.ศ. 2538 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.00-10.00 น. นำแสดงโดย อนันต์ บุนนาค และ บุษกร พรวรรณะศิริเวช

ร่วมด้วย ศิริพร อยู่ยอด, นัย สุขสกุล, กิตติพันธ์ พุ่มสุขโข, กุ้งนาง ปัทมสูต, อรุโณทัย นฤนาท, ศิริพจน์ เจนวัฒน์, ปวันรัตน์ นาคสุริยะ, เฉิน เชิญยิ้ม, พิศมัย วิไลศักดิ์, พูนสวัสดิ์ ธีมากร, อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา, วิมลพรรณ ชาลีจังหาญ, จารุณี โชติรัตน์, ตรีนุช ทิมเจริญ, ด.ช. ชลทิศ สุขเจริญ, ประไพ สิโนทก

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2546

ครั้งที่ 6 ทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวี เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2546 ทุกวันพฤหัสบดี-ศุกร์ เวลา 18.05-19.00 น.(ออกอากาศซ้ำในปีพ.ศ. 2547 ในช่วงละครเด็ด 11 โมง) นำแสดงโดย อัมรินทร์ นิติพน และณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ [8]

ร่วมด้วย ทัศนาวลัย องอาจสิทธิชัย, เอกชัย วริทธิ์ษราพร, นพพร ชุ่มใจ, พิศมัย วิไลศักดิ์, โอลิเวอร์ บีเวอร์, ปิยะ เศวตพิกุล, กรุง ศรีวิไล, อำภา ภูษิต, ธิติยา นพพงษากิจ, ฤทธิ์ ลือชา, วิยะดา อุมารินทร์, ธีรวัฒน์ ทองจิตติ, ถั่วแระ เชิญยิ้ม, จารุณี โชติรัตน์, ปาจรีย์ ณ นคร, ประภา เทียนทอง, วจสา เท่าเนตรสุวรรณ, ด.ญ. โจแอน วงศ์งาม, จิระศักดิ์ ศรีวิชัย, ปนัดดา โกมารทัต, อรุโนทัย นฤนาท, เวนย์ ฟอลโคเนอร์

ละครโทรทัศน์ พ.ศ. 2552

และครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2552 ได้ถูกนำมาสร้างเป็นละครอีกครั้ง ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันศุกร์, เสาร์ และอาทิตย์ เวลา 20.30 น. นำแสดงโดย ทฤษฎี สหวงษ์ และเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

ร่วมด้วย เกียรติกมล ล่าทา, วิรากานต์ เสณีตันติกุล, วรัญญา เจริญพรสิริสุข, พิมพ์ชนก พลบูรณ์, สาวิตรี สามิภักดิ์, ศานติ สันติเวชกุล, อชิตะ วุฒินันท์สุระสิทธิ์, ดารณีนุช โพธิปิติ, บริบูรณ์ จันทร์เรือง, พิศมัย วิไลศักดิ์, ริชาร์ด เกียนี่

รายชื่อนักแสดง

ปี พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2552
รูปแบบ ละคร ช่อง 4 ละคร ช่อง 9 ภาพยนตร์ 35 มม. ละคร ช่อง 3 ละคร ช่อง 5 ละคร ช่องไอทีวี ละคร ช่อง 3
ผู้ผลิต ช่อง 4 ช่อง 9 ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช เอเซีย เทเลวิชั่น&มีเดีย แมคซิม่า สตูดิโอ โนพรอบเล็ม
ผู้กำกับ - - สักกะ จารุจินดา สักกะ จารุจินดา สักกะ จารุจินดา พิทย์ธานินทร์ ดิษยนิยม กฤษณ์ ศุกระมงคล
บทการแสดง - - สักกะ จารุจินดา สักกะ จารุจินดา สักกะ จารุจินดา ธฤต ยิ่งยศ ปัญญา
ปื๊ด ด.ช. จักรกฤช คชรัตน์ ด.ช. ชลทิศ สุขเจริญ โอ (คม ชัด ลึก) ริชาร์ด เกียร์นี่
ฉลวย จารุณี โชติรัตน์ จารุณี โชติรัตน์ พิมพ์ชนก พลบูรณ์
ผู้ใหญ่ลี (ลีนวัตร) มีชัย วีระไวทยะ นฤพนธ์ ดุริยพันธ์ ไพโรจน์ สังวริบุตร ทูน หิรัญทรัพย์ อนันต์ บุนนาค อัมรินทร์ นิติพน ทฤษฎี สหวงษ์
นางมา (มาลินี) ผาณิต กันตามระ กนกวรรณ ด่านอุดม จินตหรา สุขพัฒน์ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ บุษกร พรวรรณะศิริเวช ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์
ปทุม (วลัยสมร) อำภา ภูษิต อลิษา ขจรไชยกุล ศิริพร อยู่ยอด ธิติยา นพพงษากิจ วิรากานต์ เสณีตันติกุล
ประดิษฐ์ (อรรถ) กฤษ สวัสดิเกียรติ กิตติพันธ์ พุ่มสุขโข โอลิเวอร์ บีเวอร์ เกียรติกมล ล่าทา
ป้าปุย พิศมัย วิไลศักดิ์ พิศมัย วิไลศักดิ์ พิศมัย วิไลศักดิ์ สาวิตรี สามิภักดิ์
นายเหว่า ธงชัย ประสงค์สันติ นัย สุขสกุล ธีรวัฒน์ ทองจิตติ บริบูรณ์ จันทร์เรือง
เฉลา วิมลพรรณ ชาลีจังหาญ ปาจรีย์ ณ นคร วรัญญา เจริญพรสิริสุข
พิน อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา วิยะดา อุมารินทร์ ดารณีนุช โพธิปิติ
คุณนายวัน จุรี โอศิริ ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ปนัดดา โกมารทัต พิศมัย วิไลศักดิ์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น