ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร"

พิกัด: 18°48′19″N 98°55′18″E / 18.8052°N 98.9216°E / 18.8052; 98.9216
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องตามจริงจากประวัติวัดพระธาตุดอยสุเทพฯ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
}}
}}


'''วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Wat Phra That Doi Suthep.png|180px]]}}) เป็น[[พระอารามหลวง]] ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอด[[ดอยสุเทพ]] เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญของ[[จังหวัดเชียงใหม่]] ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นพระธาตุประจำปีเกิด ปีมะแมอีกด้วยและยังมีลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ที่งดงามดั่งสวรรค์บนดินที่สุดในประเทศ ส่วนทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 11 กิโลเมตร ทุกปีในวันวิสาขะบูชา จะมีประเพณีเตียว(เดิน)ขึ้นดอยสุเทพ เพื่อไปสรงน้ำพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และห่มผ้าพระธาตุ ซึ่งถือว่าเป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ด้วย ซึ่งจะมีขบวนอัญเชิญน้ำสรงและผ้าไตรพระราชทาน และขบวนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชนต่างๆ จากทุกอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียงเข้าร่วมขบวน กันมากมายสวยงาม ส่วนเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ[[พระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)]]
'''วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Wat Phra That Doi Suthep.png|180px]]}}) เป็น[[พระอารามหลวง]] ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอด[[ดอยสุเทพ]] เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญของ[[จังหวัดเชียงใหม่]] ระบรมธาตุอสดรยสุเทพนั้นถือว่าเป็นพระบรมธาตุเก่าแก่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเชียงใหม่ มายาวนานกว่า 700 ปี ก่อ้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นพระธาตุประจำปีเกิด ปีมะแมอีกด้วยและยังมีลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ที่งดงามดั่งสวรรค์บนดินที่สุดในประเทศ ส่วนทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 11 กิโลเมตร และสามารถมองเห็นวัดพระธาตุดอยสุเทพได้จากทุกมุมทุกจุดในตัวเมืองเชียงใหม่ โดยเฉพาะช่วงค่ำจะมองเห็นวัดพระธาตุดอยสุเทพเหลืองอร่ามสว่างไสวสวยงามยิ่งนัก ซึ่งทุกปีในวันวิสาขะบูชา จะมีประเพณีเตียว(เดิน)ขึ้นดอยสุเทพ เพื่อไปสรงน้ำพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และห่มผ้าพระบรมธาตุ ซึ่งถือว่าเป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ด้วย ซึ่งจะมีขบวนอัญเชิญน้ำสรงและผ้าไตรพระราชทาน และขบวนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชนต่างๆ จากทุกอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียงเข้าร่วมขบวนแห่กันอย่างมากมายสวยงาม ส่วนเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ[[พระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:05, 4 มีนาคม 2559

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
พระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
แผนที่
ชื่อสามัญวัดพระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุดอยสุเทพ ดอยสุเทพ
ที่ตั้งถ. ศรีวิชัย ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
ประเภทพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
นิกายเถรวาท มหานิกาย
เจ้าอาวาสพระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)
เว็บไซต์www.doisuthep.com
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร (ไทยถิ่นเหนือ: ) เป็นพระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอดดอยสุเทพ เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญของจังหวัดเชียงใหม่พ ระบรมธาตุอสดรยสุเทพนั้นถือว่าเป็นพระบรมธาตุเก่าแก่ศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเชียงใหม่ มายาวนานกว่า 700 ปี ก่อ้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นพระธาตุประจำปีเกิด ปีมะแมอีกด้วยและยังมีลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ที่งดงามดั่งสวรรค์บนดินที่สุดในประเทศ ส่วนทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน อยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 11 กิโลเมตร และสามารถมองเห็นวัดพระธาตุดอยสุเทพได้จากทุกมุมทุกจุดในตัวเมืองเชียงใหม่ โดยเฉพาะช่วงค่ำจะมองเห็นวัดพระธาตุดอยสุเทพเหลืองอร่ามสว่างไสวสวยงามยิ่งนัก ซึ่งทุกปีในวันวิสาขะบูชา จะมีประเพณีเตียว(เดิน)ขึ้นดอยสุเทพ เพื่อไปสรงน้ำพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และห่มผ้าพระบรมธาตุ ซึ่งถือว่าเป็นงานบุญประเพณีที่ยิ่งใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ด้วย ซึ่งจะมีขบวนอัญเชิญน้ำสรงและผ้าไตรพระราชทาน และขบวนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชนต่างๆ จากทุกอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และใกล้เคียงเข้าร่วมขบวนแห่กันอย่างมากมายสวยงาม ส่วนเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือพระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ)

ประวัติ

ไฟล์:ดอยสุเทพ 1910-1920.jpg
บันไดนาค วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2453 - 2463

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1929 ในสมัยพญากือนา กษัตริย์องค์ที่ 6 แห่งอาณาจักรล้านนา ราชวงศ์มังราย พระองค์ทรงได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุองค์ใหญ่ ที่ได้ทรงเก็บไว้สักการบูชาส่วนพระองค์ถึง 13 ปี มาบรรจุไว้ที่นี่ ด้วยการทรงอธิษฐานเสี่ยงช้างมงคลเพื่อเสี่ยงทายสถานที่ประดิษฐาน พอช้างมงคลเดินมาถึงยอดดอยสุเทพ มันก็ร้องสามครั้ง พร้อมกับทำประทักษิณสามรอบ แล้วล้มลง พระองค์จึงโปรดเกล้าฯให้ขุดดินลึก 8 ศอก กว้าง 6 วา 3 ศอก หาแท่นหินใหญ่ 6 แท่น มาวางเป็นรูปหีบใหญ่ในหลุม แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุลงประดิษฐานไว้ จากนั้นถมด้วยหิน แล้วก่อพระเจดีย์สูง 5 วา ครอบบนนั้น ด้วยเหตุนี้จึงห้ามพุทธศาสนิกชนที่ไปนมัสการสวมรองเท้าใน บริเวณพระธาตุ และมิให้สตรีเข้าไปบริเวณนั้น ในปี พ.ศ. 2081 สมัยพระเมืองเกษเกล้า กษัตริย์องค์ที่ 12 ได้โปรดฯให้เสริมพระเจดีย์ให้สูงกว่าเดิม เป็นกว้าง 6 วา สูง 11 ศอก พร้อมทั้งให้ช่างนำทองคำทำเป็นรูปดอกบัวทองใส่บนยอดเจดีย์ และต่อมาเจ้าท้าวทรายคำ ราชโอรสได้ทรงให้ตีทองคำเป็นแผ่นติดที่พระบรมธาตุ

ในปี พ.ศ. 2100 พระมหาญาณมงคลโพธิ์ วัดอโศการาม เมืองลำพูนได้สร้างบันไดนาคหลวงทั้ง 2 ข้าง เพื่อให้ประชาชนขึ้นไปสักการะได้สะดวกขึ้น และกระทั่งถึงสมัยครูบาศรีวิชัย ท่านได้สร้างถนนขึ้นไป โดยถนนที่สร้างนี้มีความยาวถึง 11.53 กิโลเมตร

การประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน

วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานสำหรับชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 0ง วันที่ 8 มีนาคม 2478 พร้อมกับวัดอีกหลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ [1]

ภาพภายในวัด

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

18°48′19″N 98°55′18″E / 18.8052°N 98.9216°E / 18.8052; 98.92162. ข้อมูลจากประวัติวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร อนุญาตให้เผยแพร่โดย เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพฯ