ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศแอลเบเนีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NORTH DRR (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์แอลเบเนีย}}
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์แอลเบเนีย}}
เคยเป็น[[เมืองขึ้น]]ของ[[จักรวรรดิออตโตมัน]] ต่อมาได้ประกาศเอกราชและเกิดปัญหาความวุ่นวายภายในประเทศมาก ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ดำเนินนโยบายเป็นมิตรกับ[[อิตาลี]]จนถูกอิตาลียึดครอง แอลเบเนียส่งทหารให้อิตาลีทำสงครามตลอด เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก [[พรรคคอมมิวนิสต์แอลเบเนีย]]เข้าครองอำนาจปกครองประเทศแบบคอมมิวนิสต์ จนมีการปฏิรูปการเมืองใหม่เมื่อ พ.ศ. 2534 และปรับระบบของประเทศเป็นระบบเศรษฐกิจเสรี
เคยเป็น[[เมืองขึ้น]]ของ[[จักรวรรดิออตโตมัน]] ต่อมาได้ประกาศเอกราชและเกิดปัญหาความวุ่นวายภายในประเทศมาก ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ดำเนินนโยบายเป็นมิตรกับ[[อิตาลี]]จนถูกอิตาลียึดครอง แอลเบเนียส่งทหารให้อิตาลีทำสงครามตลอด เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก [[พรรคคอมมิวนิสต์แอลเบเนีย]]เข้าครองอำนาจปกครองประเทศแบบคอมมิวนิสต์ จนมีการปฏิรูปการเมืองใหม่เมื่อ พ.ศ. 2534 และปรับระบบของประเทศเป็นระบบเศรษฐกิจเสรี

===ออตโตมันแอลเบเนีย===
[[File:Sanjak of Albania Map 1431.svg|thumb|200px|Sanjak of Albania 1431]]
[[File:Đurađ Kastriota (Skenderbeg).jpg|thumb|left|After serving the [[Ottoman Empire]] for 20 years [[Skanderbeg]] deserted and began a rebellion that halted Ottoman advance into Europe for 25 years.]]
ในยุครุ่งเรืองของการก่อตั้ง[[จักรวรรดิออตโตมัน]]นั้น ทางออตโตมันได้จัดตั้งกองทหารรักษาการณ์ทั่วทั้งแอลเบเนียทางตอนใต้ช่วงปี พ.ศ. 1958 (ค.ศ. 1415) และสามารถเข้ายึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของแอลเบเนียในช่วงปี พ.ศ. 1974 (ค.ศ. 1431)<ref>{{Cite journal |last=Licursi |first=Emiddio Pietro|title=Empire of Nations: The Consolidation of Albanian and Turkish National Identities in the Late Ottoman Empire, 1878–1913 |url=http://www.scribd.com/doc/72122169/7/Pashko-Vasa|archiveurl= |archivedate= |accessdate= |edition= |series= |volume= |origyear=|year=2011 |publisher= Columbia University |location= New York |language= |isbn= |oclc= |doi= |doi_inactivedate= |bibcode= |id=|page=19 |pages= |nopp= |at= |chapter= |chapterurl= |quote= By 1415, after a chaotic interregnum, Sultan Mehmet I sent the military to erect the first Ottoman garrisons throughout southern Albania, establishing direct military authority in the region&nbsp;... l jurisdiction over most of Albania&nbsp;... |postscript=<!-- Bot inserted parameter. Either remove it; or change its value to "." for the cite to end in a ".", as necessary. -->{{inconsistent citations}} }}</ref> อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 1986 (ค.ศ. 1443) การปฏิวัติครั้งใหญ่ได้ประทุขึ้นภายใต้การนำของวีรบุรุษชาวแอลเบเนียนาม Skanderbeg ซึ่งดำเนินไปจนถึงปี พ.ศ. 2022 (ค.ศ. 1479) ซึ่งหลายครั้งก็สามารถเอาชนะกองทัพของ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]ที่นำโดยสุลต่าน Murad II และ [[เมห์เหม็ดที่ 2]] Skanderbeg ได้สร้างความเป็นปึกแผ่นเบื้องต้นกับเจ้านายต่างๆในแอลเบเนีย ซึ่งในภายหลังได้สถาปนาเป็นศูนย์กลางอำนาจเหนือแผ่นดินที่ยังมิได้ถูกยึดครองของแอลเบเนีย กลายเป็นลอร์ดผู้ปกครองแอลเบเนีย เขาได้พยายามอย่างหนักแต่ก็ล้มเหลวในการสร้างพันธมิตรยุโรปในการต่อต้านออตโตมัน เขาถูกขัดขวางในทุกความพยายามโดยชาวเติร์กที่ต้องการกลับมาควบคุมแอลเบเนีย ซึ่งถูกมองว่าเป็นเหมือนเส้นทางหลักในการเข้ายึดอิตาลีและยุโรปตะวันตก การต่อสู้กับมหาอำนาจที่เหนือกว่าในยุคนั้นของเขาได้ความเคารพจากชาติอื่นๆในยุโรป และเนเปืล, รัฐพระสันตะปาปา, เวนิส และรากูซาก็ได้ให้ความช่วยเหลือแก่เขาทางการเงินและการทหารด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/12472/Albania/42646/The-decline-of-Byzantium|title=Albania :: The decline of Byzantium -- Encyclopedia Britannica|work=Encyclopedia Britannica|accessdate=13 September 2014}}</ref>

{{โครง-ส่วน}}


== การเมืองการปกครอง ==
== การเมืองการปกครอง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:12, 27 กุมภาพันธ์ 2559

สาธารณรัฐแอลเบเนีย

Republika e Shqipërisë (แอลเบเนีย)
คำขวัญไม่มี
เพลงชาติHymni i Flamurit
("เพลงสรรเสริญแก่ธง")
ที่ตั้งของแอลเบเนีย
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ติรานา
ภาษาราชการภาษาแอลเบเนีย
การปกครองประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
บามีร์ ตอปี
ซาลี เบรีชา
เอกราช 
• ประกาศ
28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
พื้นที่
• รวม
28,748 ตารางกิโลเมตร (11,100 ตารางไมล์) (139)
4.7
ประชากร
• 2549 ประมาณ
3,581,656 (134)
[convert: %s]%s (63)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2548 (ประมาณ)
• รวม
16,944 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (112)
4,764 ดอลลาร์สหรัฐ (116)
เอชดีไอ (2546)0.780
สูง · 72
สกุลเงินเลค (ALL)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (CEST)
รหัสโทรศัพท์355
โดเมนบนสุด.al

แอลเบเนีย (อังกฤษ: Albania; แอลเบเนีย: Shqipëri) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (อังกฤษ: Republic of Albania; แอลเบเนีย: Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับเซอร์เบีย (คอซอวอ) ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตย

ภูมิศาสตร์

สภาพภูมิศาสตร์เป็นสิ่งกีดขวางตามธรรมชาติอย่างหนึ่งทำให้แอลเบเนียมีความแตกต่างทางภาษา ความแปลกแยกทางการเมืองกับประเทศอื่นๆในยุโรป เนื่องจากมีแนวภูเขาสูงเป็นปราการฝั่งตะวันออก ความสูงประมาณ 2,000 เมตร ซึ่งทอดยาวต่อเนื่องจากเทือกเขา Dinaric Alps วางตัวเป็นแนวตะวันตกเฉียงเหนือ ไปยังตะวันออกเฉียงใต้ สูงชันไปตามแนวที่ราบชายฝั่ง โดยทั่วไป หินส่วนใหญ่ เป็นหินปูน ส่วนในภาคกลางมีสินแร่เชิ้อเพลิงเป็นจำนวนมาก เช่น ทองแดง เหล็ก นิกเกิล และโครเมียม

ประวัติศาสตร์

เคยเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิออตโตมัน ต่อมาได้ประกาศเอกราชและเกิดปัญหาความวุ่นวายภายในประเทศมาก ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ดำเนินนโยบายเป็นมิตรกับอิตาลีจนถูกอิตาลียึดครอง แอลเบเนียส่งทหารให้อิตาลีทำสงครามตลอด เมื่อสิ้นสุดสงครามโลก พรรคคอมมิวนิสต์แอลเบเนียเข้าครองอำนาจปกครองประเทศแบบคอมมิวนิสต์ จนมีการปฏิรูปการเมืองใหม่เมื่อ พ.ศ. 2534 และปรับระบบของประเทศเป็นระบบเศรษฐกิจเสรี

ออตโตมันแอลเบเนีย

Sanjak of Albania 1431
After serving the Ottoman Empire for 20 years Skanderbeg deserted and began a rebellion that halted Ottoman advance into Europe for 25 years.

ในยุครุ่งเรืองของการก่อตั้งจักรวรรดิออตโตมันนั้น ทางออตโตมันได้จัดตั้งกองทหารรักษาการณ์ทั่วทั้งแอลเบเนียทางตอนใต้ช่วงปี พ.ศ. 1958 (ค.ศ. 1415) และสามารถเข้ายึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของแอลเบเนียในช่วงปี พ.ศ. 1974 (ค.ศ. 1431)[1] อย่างไรก็ดี ในปี พ.ศ. 1986 (ค.ศ. 1443) การปฏิวัติครั้งใหญ่ได้ประทุขึ้นภายใต้การนำของวีรบุรุษชาวแอลเบเนียนาม Skanderbeg ซึ่งดำเนินไปจนถึงปี พ.ศ. 2022 (ค.ศ. 1479) ซึ่งหลายครั้งก็สามารถเอาชนะกองทัพของจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่าน Murad II และ เมห์เหม็ดที่ 2 Skanderbeg ได้สร้างความเป็นปึกแผ่นเบื้องต้นกับเจ้านายต่างๆในแอลเบเนีย ซึ่งในภายหลังได้สถาปนาเป็นศูนย์กลางอำนาจเหนือแผ่นดินที่ยังมิได้ถูกยึดครองของแอลเบเนีย กลายเป็นลอร์ดผู้ปกครองแอลเบเนีย เขาได้พยายามอย่างหนักแต่ก็ล้มเหลวในการสร้างพันธมิตรยุโรปในการต่อต้านออตโตมัน เขาถูกขัดขวางในทุกความพยายามโดยชาวเติร์กที่ต้องการกลับมาควบคุมแอลเบเนีย ซึ่งถูกมองว่าเป็นเหมือนเส้นทางหลักในการเข้ายึดอิตาลีและยุโรปตะวันตก การต่อสู้กับมหาอำนาจที่เหนือกว่าในยุคนั้นของเขาได้ความเคารพจากชาติอื่นๆในยุโรป และเนเปืล, รัฐพระสันตะปาปา, เวนิส และรากูซาก็ได้ให้ความช่วยเหลือแก่เขาทางการเงินและการทหารด้วย[2]

การเมืองการปกครอง

บริหาร

ประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศมาจากการเลือกตั้งโดยสภาประชาชน มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ปัจจุบัน คือ นาย Alfred Moisiu นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล ประธานาธิบดีเป็นผู้เสนอชื่อ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาประชาชน ดำรงตำแหน่ง 4 ปี ปัจจุบัน คือ นาย Sali Berisha

นิติบัญญัติ

ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยเป็นระบบสภาเดียว คือ สภาประชาชน (People’s Assembly) มีสมาชิก 140 คน โดย 100 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง อีก 40 คนมาจากระบบปาร์ตี้-ลิสต์

ตุลาการ

สถานการณ์การเมือง

สิทธิมนุษยชน

การแบ่งเขตการปกครอง

ประเทศแอลเบเนียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 เขตบริหาร (administrative zones - qark or prefekturë) แต่ละเขตบริหารแบ่งย่อยลงไปอีกเป็น เขต (districts - rreth) รวมทั้งหมด 36 เขต

มณฑล เมืองหลวง เขต เทศบาล เมือง หมู่บ้าน
1 มณฑลเบรัต เบรัต เขตเบรัต
เขตคูโชฟ
เขตสคราปาร์
10
2
8
2
1
2
122
18
105
2 มณฑลดีเบอร์ เพชโคป เขตบุงกีช์
เขตดีเบอร์
เขตมัท
7
14
10
1
1
2
63
141
76
3 มณฑลดูร์เรส ดูร์เรส เขตดูร์เรส
เขตครุยจ์
6
4
4
2
62
44
4 มณฑลเอลบาซาน เอลบาซาน เขตเอลบาซาน
เขตกรามช์
เขตลิบราซชด์
เขตเพกิน
20
9
9
5
3
1
2
1
177
95
75
49
5 มณฑลฟิเยร์ ฟิเยร์ เขตฟิเยร์
เขตลีอูชชีเนอ
เขตมัลลาคาสเทอร์
14
14
8
3
2
1
117
121
40
6 มณฑลจิโรคาสเทอร์ จิโรคาสเทอร์ เขตจิโรคาสเทอร์
เขตเปอร์เมต
เขตเทแพนเล
11
7
8
2
2
2
96
98
77
7 มณฑลโคร์ช โคร์ช เขตเดโวล
เขตโคโลนจ์
เขตโคร์ช
เขตโพกราเดค
4
6
14
7
1
2
2
1
44
76
153
72
8 มณฑลคูเคิช คูเคิช เขตฮาส์
เขตคูเคิช
เขตโทโพรจ
3
14
7
1
1
1
30
89
68
9 มณฑลเลซ์ เลซ์ เขตคูร์บิน
เขตเลซ์
เขตมิดิร์
2
9
5
2
1
2
26
62
80
10 มณฑลชโคดรา ชโคดรา เขตมาเลอซี อี มาด์เฮ
เขตพูคา
เขตชโคดรา
5
8
15
1
2
2
56
75
141
11 มณฑลติรานา ติรานา เขตคาเฟจา
เขตติรานา
8
16
2
3
66
167
12 มณฑลวโลรา วโลรา เขตเดลฟินา
เขตซารานดา
เขตวโลรา
3
7
9
1
2
4
38
62
99

นโยบายต่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับรัสเซีย

ความสัมพันธ์กับราชอาณาจักรไทย

กองทัพ

กองกำลังกึ่งทหาร

เศรษฐกิจ

โครงสร้างทางเศรษฐกิจ

เพราะเป็นประเทศที่ยากจน[ต้องการอ้างอิง] จึงต้องพึ่งการเกษตร

ภาคเกษตรกรรม

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

การคมนาคม และ โทรคมนาคม

คมนาคม

โทรคมนาคม

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

การศึกษา

สาธารณสุข

ประชากรศาสตร์

เชื้อชาติ

เป็นชาวแอลเบเนีย ร้อยละ 95 ชาวกรีก ร้อยละ 3 และอื่น ๆ อีก ร้อยละ 2

ภาษา

ศาสนา

กีฬา

วัฒนธรรม

เป็นวัฒนธรรมมุสลิมบอลข่านเพราะในอดีตเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิออตโตมันเติร์ก ทำให้มีประชากรเป็นชาวมุสลิมเป็นส่วนมากร้อยละ 70 ที่เหลือเป็นชาวคริสต์ร้อยละ 30

ดนตรี

อาหาร

สถาปัตยกรรม

สื่อสารมวลชน

วันหยุด

อ้างอิง

  1. Licursi, Emiddio Pietro (2011). "Empire of Nations: The Consolidation of Albanian and Turkish National Identities in the Late Ottoman Empire, 1878–1913". New York: Columbia University: 19. By 1415, after a chaotic interregnum, Sultan Mehmet I sent the military to erect the first Ottoman garrisons throughout southern Albania, establishing direct military authority in the region ... l jurisdiction over most of Albania ... {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help); Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า s: |nopp=, |chapterurl= และ |doi_inactivedate= (help)
  2. "Albania :: The decline of Byzantium -- Encyclopedia Britannica". Encyclopedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 13 September 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล
การศึกษา
ด้านการท่องเที่ยว