ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานกรุงเทพ"

พิกัด: 13°42′02″N 100°29′31″E / 13.700435°N 100.492072°E / 13.700435; 100.492072
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
* '''รับน้ำหนักได้ :''' TRACTOR TRUCK WITH SEMI-TRAILER 29.25 TONS ต่อช่วงสะพาน หรือ 16 TONS TRUCK TRAINS วิ่งสวนกัน 4 คัน และ วิ่งตามกันห่าง 4 ม. น้ำหนักแผ่อีก 400 km/m2
* '''รับน้ำหนักได้ :''' TRACTOR TRUCK WITH SEMI-TRAILER 29.25 TONS ต่อช่วงสะพาน หรือ 16 TONS TRUCK TRAINS วิ่งสวนกัน 4 คัน และ วิ่งตามกันห่าง 4 ม. น้ำหนักแผ่อีก 400 km/m2


==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{geolinks-bldg|13.700435|100.492072}}
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://maps.google.com/maps?t=k&q=Thailand&ll=13.700435,100.492072&spn=0.004628,0.010729&t=k}}
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://maps.google.com/maps?t=k&q=Thailand&ll=13.700435,100.492072&spn=0.004628,0.010729&t=k}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:55, 11 กรกฎาคม 2550

ไฟล์:Krungthep bridge01.jpg
ภาพสะพานกรุงเทพมุมมองจากฝั่งพระนคร
ไฟล์:Krungthep bridge02.jpg
ภาพสะพานกรุงเทพ
ไฟล์:424692133 bf60e27a9e.jpg
สะพานพระราม 3 และสะพานกรุงเทพ‎

สะพานกรุงเทพ เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 2 รองลงจากสะพานพระพุทธยอดฟ้า เชื่อมระหว่างฝั่งพระนคร ซึ่งตั้งอยู่ในเขตบางคอแหลมบริเวณสี่แยกถนนตก และฝั่งธนบุรีในพื้นที่เขตธนบุรีบริเวณสี่แยกบุคคโล ใช้ในการคมนาคมทางบกข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและปิด-เปิด ให้เรือรบเข้าออก ลักษณะการก่อสร้างเป็นแบบคอนกรีตอัดแรง โดยวิธีการอิสระซึ่งยาวที่สุดในประเทศไทย มีช่องทางจราจร 4 ช่อง ความยาวสะพาน 350.80 เมตร ช่วงกลางน้ำยาว 226 เมตร เริ่มเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2502

ปัจจุบัน สะพานกรุงเทพยังคงเปิด-ปิดอยู่ เพื่อให้เรือสินค้าที่แล่นเข้าออกเป็นประจำผ่าน แต่เมื่อมีการเปิด-ปิดสะพาน ก็ต้องมีการปิดการจราจร ทำให้เกิดปัญหาจราจรติดขัดเป็นอันมาก อีกทั้งเป็นสะพานที่อายุกว่า 40 ปี ทำให้มีปัญหาด้านกลไกเปิด-ปิดสะพานอยู่บ่อยครั้ง รัฐบาลจึงทุ่มงบสร้างสะพานที่สูงพอให้เรือสินค้าแล่นผ่านได้เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจร สะพานนั้นคือ สะพานพระราม 3

ข้อมูลทั่วไป

  • วันที่ทำการก่อสร้าง : วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2497 แล้วเสร็จปลายปี พ.ศ. 2500
  • วันเปิดการจราจร : วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2502 (ค.ศ. 1959)
  • บริษัทที่ทำการก่อสร้าง : FUJI CAR MANUFACTURING CO.,LTD.
  • ราคาค่าก่อสร้าง : 31,912,500.00 บาท
  • แบบของสะพาน : ชนิดเปิด-ปิดได้
  • จำนวนช่วงสะพานกลางน้ำ : 5 ช่วง ( 64.00+64.00+60.00+64.00+64.00)
  • ความยาวของสะพาน : 350.80 เมตร
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งพระนคร : 129.70 เมตร
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งธนบุรี : 180.55 เมตร
  • รวมความยาวทั้งหมด : 661.05 เมตร
  • จำนวนช่องทางวิ่ง : 4 ช่องทางจราจร
  • ความกว้างผิวจราจรสะพาน : 12.00 เมตร
  • ความกว้างสะพาน : 17.00 เมตร
  • ความกว้างทางเท้าแต่ละด้าน : 2.50 เมตร
  • ออกแบบรับน้ำหนัก : H-16-44
  • น้ำหนักโครงเหล็ก : รวมทั้งพื้นจราจร สำหรับช่วง 64.00 ม. หนัก 440 ตัน
  • สำหรับช่วงเปิด-ปิด : หนักข้างละ 200 ตัน
  • ระดับคอสะพาน : ฝั่งพระนคร 4.15 ม. ฝั่งธนบุรี 4.15 ม.
  • รับน้ำหนักได้ : TRACTOR TRUCK WITH SEMI-TRAILER 29.25 TONS ต่อช่วงสะพาน หรือ 16 TONS TRUCK TRAINS วิ่งสวนกัน 4 คัน และ วิ่งตามกันห่าง 4 ม. น้ำหนักแผ่อีก 400 km/m2

แหล่งข้อมูลอื่น

13°42′02″N 100°29′31″E / 13.700435°N 100.492072°E / 13.700435; 100.492072