ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมทางหลวง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6315891 สร้างโดย 101.108.108.36 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
| รัฐมนตรี10_ชื่อ =
| รัฐมนตรี10_ชื่อ =
| รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
| รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า1_ชื่อ = ชูศักดิ์ เกวี
| หัวหน้า1_ชื่อ = พีระพล ถาวรสุภเจริญ (รองปลัดกระทรวงคมนาคม)
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = อธิบดี
| หัวหน้า1_ตำแหน่ง = อธิบดี (รักษาการ)
| หัวหน้า2_ชื่อ = สราวุธ ทรงศิวิไล
| หัวหน้า2_ชื่อ = สราวุธ ทรงศิวิไล
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง = รองอธิบดี
| หัวหน้า2_ตำแหน่ง = รองอธิบดี (ฝ่ายบำรุงทาง)
| หัวหน้า3_ชื่อ = อานนท์ เหลืองบริบูรณ์
| หัวหน้า3_ชื่อ = อานนท์ เหลืองบริบูรณ์
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองอธิบดี
| หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองอธิบดี (ฝ่ายวิชาการ)
| หัวหน้า4_ชื่อ = ธานินทร์ สมบูรณ์
| หัวหน้า4_ชื่อ = ธานินทร์ สมบูรณ์
| หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองอธิบดี
| หัวหน้า4_ตำแหน่ง = รองอธิบดี (ฝ่ายบริหาร)
| หัวหน้า5_ชื่อ = กมล หมั่นทำ
| หัวหน้า5_ชื่อ = กมล หมั่นทำ
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองอธิบดี
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองอธิบดี (ฝ่ายดำเนินงาน)
| หัวหน้า6_ชื่อ =
| หัวหน้า6_ชื่อ =
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง =
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:33, 30 มกราคม 2559

กรมทางหลวง
Department of Highways
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง1 เมษายน พ.ศ. 2455
เขตอำนาจทั่วราชอาณาจักร
สำนักงานใหญ่2/486 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
งบประมาณประจำปี60,334.2338 ล้านบาท (พ.ศ. 2558)[1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • พีระพล ถาวรสุภเจริญ (รองปลัดกระทรวงคมนาคม), อธิบดี (รักษาการ)
  • สราวุธ ทรงศิวิไล, รองอธิบดี (ฝ่ายบำรุงทาง)
  • อานนท์ เหลืองบริบูรณ์, รองอธิบดี (ฝ่ายวิชาการ)
  • ธานินทร์ สมบูรณ์, รองอธิบดี (ฝ่ายบริหาร)
  • กมล หมั่นทำ, รองอธิบดี (ฝ่ายดำเนินงาน)
เว็บไซต์http://www.doh.go.th

กรมทางหลวง เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงคมนาคม มีหน้าที่ดำเนินการก่อสร้าง ควบคุม บูรณะ และบำรุงรักษาทางหลวง ทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงสัมปทาน[2] เพื่ออำนวยความสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยในทางหลวงทั่วประเทศ เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ความมั่นคง และการป้องกันประเทศ[3]

ประวัติถนนกรุงรัตนโกสินทร์

วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง [4] ทำถนนในพระนครทุกสาย ในสมัยนั้นก็คือ ถนนรอบพระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ด้วยก่อนนี้เป็นเพียงถนนดินคนเดินไปมา ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นการบุกเบิกคมนาคมทางบกแบบยุโรปขึ้นครั้งแรกในกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะก่อนหน้านี้จะใช้การคมนาคมทางน้ำเป็นหลัก และถนนต่อจากท้ายวังก็คือถนนเจริญกรุง ถนนสายแรกของประเทศไทย

หน่วยงานสำนัก (ส่วนกลาง)

  1. สำนักกฎหมาย
  2. สำนักก่อสร้างทางที่ 1
  3. สำนักก่อสร้างทางที่ 2
  4. สำนักก่อสร้างสะพาน
  5. สำนักเครื่องกลและสื่อสาร
  6. สำนักจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน
  7. สำนักบริหารโครงการทางหลวงระหว่างประเทศ
  8. สำนักบริหารบำรุงทาง
  9. สำนักแผนงาน
  10. สำนักมาตรฐานและประเมินผล
  11. สำนักวิเคราะห์และตรวจสอบ
  12. สำนักวิจัยและพัฒนางานทาง
  13. สำนักสำรวจและออกแบบ
  14. สำนักอำนวยความปลอดภัย

หน่วยงานส่วนภูมิภาค

กรมทางหลวงนั้นกระจายอำนาจการดูแลรักษาทำนุบำรุงถนน สร้างถนนในเขตภูมิภาค โดยแบ่งหน่วยงานดังนี้

  • สำนักงานทางหลวงที่ 1 เชียงใหม่
  1. แขวงทางหลวงเชียงใหม่ที่ 1
  2. แขวงทางหลวงเชียงใหม่ที่ 2
  3. แขวงทางหลวงเชียงใหม่ที่ 3
  4. แขวงทางหลวงลำปางที่ 1 (แขวงการทางลำปางเดิม)
  5. แขวงทางหลวงลำปางที่ 2 (สำนักงานบำรุงทางลำปางที่ 2 เดิม)
  6. แขวงทางหลวงลำพูน
  7. แขวงทางหลวงแม่ฮ่องสอน
  • สำนักงานทางหลวงที่ 2 แพร่
  1. แขวงทางหลวงแพร่
  2. แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1
  3. แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2
  4. แขวงทางหลวงพะเยา
  5. แขวงทางหลวงน่านที่ 1
  6. แขวงทางหลวงน่านที่ 2
  • สำนักงานทางหลวงที่ 3 สกลนคร
  1. แขวงทางหลวงสกลนครที่ 1
  2. แขวงทางหลวงสกลนครที่ 2 (สว่างแดนดิน)
  3. แขวงทางหลวงนครพนม
  4. แขวงทางหลวงบึงกาฬ
  5. แขวงทางหลวงมุกดาหาร
  6. แขวงทางหลวงหนองคาย
  7. แขวงทางหลวงเลยที่ 1
  8. แขวงทางหลวงเลยที่ 2 (ด่านซ้าย)
  9. แขวงทางหลวงหนองบัวลำภู
  10. แขวงทางหลวงอุดรธานีที่ 1 (แขวงการทางอุดรธานีเดิม)
  11. แขวงทางหลวงอุดรธานีที่ 2 (หนองหาน) (สำนักงานบำรุงทางอุดรธานีที่ 2 เดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 4 ตาก (สำนักงานทางหลวงตากเดิม)
  1. แขวงทางหลวงตากที่ 1
  2. แขวงทางหลวงตากที่ 2 (แม่สอด)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 5 พิษณุโลก
  1. แขวงทางหลวงพิษณุโลกที่ 1 (แขวงการทางพิษณุโลกเดิม)
  2. แขวงทางหลวงพิษณุโลกที่ 2 (วังทอง) (สำนักงานบำรุงทางพิษณุโลกที่ 2 เดิม)
  3. แขวงทางหลวงสุโขทัย
  4. แขวงทางหลวงอุตรดิตถ์ที่ 1
  5. แขวงทางหลวงอุตรดิตถ์ที่ 2
  6. แขวงทางหลวงพิจิตร
  7. แขวงทางหลวงกำแพงเพชร
  • สำนักงานทางหลวงที่ 6 เพชรบูรณ์
  1. แขวงทางหลวงเพชรบูรณ์ที่ 1
  2. แขวงทางหลวงเพชรบูรณ์ที่ 2 (บึงสามพัน)
  3. แขวงทางหลวงนครสวรรค์ที่ 1
  4. แขวงทางหลวงนครสวรรค์ที่ 2 (ตากฟ้า)
  5. แขวงทางหลวงอุทัยธานี
  • สำนักงานทางหลวงที่ 7 ขอนแก่น
  1. แขวงทางหลวงขอนแก่นที่ 1
  2. แขวงทางหลวงขอนแก่นที่ 2 (ชุมแพ)
  3. แขวงทางหลวงขอนแก่นที่ 3 (บ้านไผ่)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 8 มหาสารคาม (สำนักงานทางหลวงมหาสารคามเดิม)
  1. แขวงทางหลวงมหาสารคาม
  2. แขวงทางหลวงกาฬสินธุ์
  3. แขวงทางหลวงร้อยเอ็ด (สำนักงานบำรุงทางร้อยเอ็ดเดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 9 อุบลราชธานี
  1. แขวงทางหลวงอุบลราชธานีที่ 1
  2. แขวงทางหลวงอุบลราชธานีที่ 2
  3. แขวงทางหลวงศรีสะเกษที่ 1 (แขวงการทางศรีสะเกษเดิม)
  4. แขวงทางหลวงศรีสะเกษที่ 2 (สำนักงานบำรุงทางศรีสะเกษที่ 2 เดิม)
  5. แขวงทางหลวงยโสธร
  6. แขวงทางหลวงอำนาจเจริญ (แขวงการทางอำนาจเจริญและยโสธรส่วนที่ 3 เดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 10 นครราชสีมา
  1. แขวงทางหลวงนครราชสีมาที่ 1
  2. แขวงทางหลวงนครราชสีมาที่ 2
  3. แขวงทางหลวงนครราชสีมาที่ 3 (สำนักงานบำรุงทางนครราชสีมาที่ 3 เดิม)
  4. แขวงทางหลวงชัยภูมิ
  5. แขวงทางหลวงบุรีรัมย์
  6. แขวงทางหลวงสุรินทร์
  • สำนักงานทางหลวงที่ 11 ลพบุรี
  1. แขวงทางหลวงลพบุรีที่ 1
  2. แขวงทางหลวงลพบุรีที่ 2 (ลำนารายณ์)
  3. แขวงทางหลวงสระบุรี
  4. แขวงทางหลวงสิงห์บุรี (สำนักงานบำรุงทางสิงห์บุรีเดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 12 สุพรรณบุรี
  1. แขวงทางหลวงสุพรรณบุรีที่ 1
  2. แขวงทางหลวงสุพรรณบุรีที่ 2 (อู่ทอง) [แขวงการทางกาญจนบุรี-สุพรรณบุรี (ที่ 2) เดิม]
  3. แขวงทางหลวงชัยนาท
  4. แขวงทางหลวงอ่างทอง (สำนักงานบำรุงทางอ่างทอง-อยุธยาเดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 13 กรุงเทพ
  1. แขวงทางหลวงกรุงเทพ
  2. แขวงทางหลวงธนบุรี (สำนักงานบำรุงทางธนบุรีเดิม)
  3. แขวงทางหลวงนครปฐม
  4. แขวงทางหลวงนนทบุรี (สำนักงานบำรุงทางนนทบุรีเดิม)
  5. แขวงทางหลวงปทุมธานี
  6. แขวงทางหลวงสมุทรปราการ
  7. แขวงทางหลวงสมุทรสาคร
  8. แขวงทางหลวงอยุธยา
  • สำนักงานทางหลวงที่ 14 ชลบุรี
  1. แขวงทางหลวงชลบุรีที่ 1 (แขวงการทางชลบุรีเดิม)
  2. แขวงทางหลวงชลบุรีที่ 2 (สำนักงานบำรุงทางชลบุรีที่ 2 เดิม)
  3. แขวงทางหลวงจันทบุรี
  4. แขวงทางหลวงฉะเชิงเทรา
  5. แขวงทางหลวงตราด
  6. แขวงทางหลวงนครนายก (สำนักงานบำรุงทางนครนายกเดิม)
  7. แขวงทางหลวงปราจีนบุรี
  8. แขวงทางหลวงระยอง
  9. แขวงทางหลวงสระแก้ว (วัฒนานคร)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 15 ประจวบคีรีขันธ์
  1. แขวงทางหลวงประจวบคีรีขันธ์ (หัวหิน)
  2. แขวงทางหลวงกาญจนบุรี
  3. แขวงทางหลวงเพชรบุรี (สำนักงานบำรุงทางเพชรบุรีเดิม)
  4. แขวงทางหลวงราชบุรี
  5. แขวงทางหลวงสมุทรสงคราม (สำนักงานบำรุงทางสมุทรสงครามและราชบุรีส่วนที่ 2 เดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 16 นครศรีธรรมราช
  1. แขวงทางหลวงนครศรีธรรมราชที่ 1
  2. แขวงทางหลวงนครศรีธรรมราชที่ 2 (ทุ่งสง)
  3. แขวงทางหลวงชุมพร
  4. แขวงทางหลวงระนอง
  5. แขวงทางหลวงสุราษฎร์ธานีที่ 1 (พุนพิน) (แขวงการทางสุราษฎร์ธานีเดิม)
  6. แขวงทางหลวงสุราษฎร์ธานีที่ 2 (กาญจนดิษฐ์) (สำนักงานบำรุงทางสุราษฎร์ธานีที่ 2 เดิม)
  7. แขวงทางหลวงสุราษฎร์ธานีที่ 3 (เวียงสระ) (สำนักงานบำรุงทางสุราษฎร์ธานีที่ 3 เดิม)
  • สำนักงานทางหลวงที่ 17 กระบี่ (สำนักงานทางหลวงกระบี่เดิม)
  1. แขวงทางหลวงกระบี่
  2. แขวงทางหลวงพังงา (สำนักงานบำรุงทางพังงาเดิม)
  3. แขวงทางหลวงภูเก็ต
  1. แขวงทางหลวงสงขลาที่ 1 (แขวงการทางสงขลาเดิม)
  2. แขวงทางหลวงสงขลาที่ 2 (นาหม่อม) (สำนักงานบำรุงทางสงขลาที่ 2 เดิม)
  3. แขวงทางหลวงตรัง
  4. แขวงทางหลวงนราธิวาส
  5. แขวงทางหลวงปัตตานี
  6. แขวงทางหลวงพัทลุง
  7. แขวงทางหลวงยะลา
  8. แขวงทางหลวงสตูล
  • สำนักงานบริหารงานศูนย์สร้างทาง
  1. ศูนย์สร้างทางลำปาง
  2. ศูนย์สร้างทางหล่มสัก
  3. ศูนย์สร้างทางขอนแก่น
  4. ศูนย์สร้างทางสงขลา
  5. ศูนย์สร้างทางกาญจนบุรี
  • สำนักก่อสร้างสะพาน
  1. ศูนย์สร้างและบูรณะสะพานที่ 1 (พิจิตร)
  2. ศูนย์สร้างและบูรณะสะพานที่ 2 (ขอนแก่น)
  3. ศูนย์สร้างและบูรณะสะพานที่ 3 (ปทุมธานี)
  4. ศูนย์สร้างและบูรณะสะพานที่ 4 (นครศรีธรรมราช)

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เล่ม 131 ตอนที่ 69ก วันที่ 30 กันยายน 2557
  2. งบประมาณ
  3. หน้าที่และความรับผิดชอบ
  4. ภาพเก่าในสยาม

แหล่งข้อมูลอื่น