ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:


==ประวัติ==
==ประวัติ==
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ นามเดิมของท่านว่า อู่ ส่วนประวัติชั้นบวชเรียนและเปรียญนั้นไม่ทราบว่าเป็นอย่างไร ไม่ได้ความปรากฏ กล่าวกันว่าท่านเป็นผู้ฉลาดสามารถในพระปริยัติธรรมเป็นเปรียญ 9 ประโยค ถึงปีเถาะพุทธศักราช 2374 วันพฤหัสบดีขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่พระธรรมไตรโลก มีสำเนาที่ทรงตั้งดังนี้ "''ให้เลื่อน พระราชกระวี เป็นพระธรรมติโลกาจารย์ญาณวิสารทนายก ติปิฏกธรา บวรสังฆาราม คามวสี สถิต ณ [[วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร|วัดเกาะวรวิหาร]] พระอารามหลวง''"
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ นามเดิมของท่านว่า อู่ ส่วนประวัติชั้นบวชเรียนและเปรียญนั้นไม่ทราบว่าเป็นอย่างไร ไม่ได้ความปรากฏ กล่าวกันว่าท่านเป็นผู้ฉลาดสามารถในพระปริยัติธรรมเป็น[[เปรียญธรรม 9 ประโยค]] ถึงปีเถาะ พ.ศ. 2374 วันพฤหัสบดีขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่พระธรรมไตรโลก มีสำเนาที่ทรงตั้งดังนี้ "''ให้เลื่อน พระราชกระวี เป็น[[พระธรรมไตรโลกาจารย์|พระธรรมติโลกาจารย์]] ญาณวิสารทนายก ติปิฏกธรา บวรสังฆาราม คามวสี สถิต ณ [[วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร|วัดเกาะวรวิหาร]] พระอารามหลวง''"


ครั้งถึงปีเถาะ พ.ศ. 2386 เมื่อทรงบูรณะวัดสุทัศนเทพวรารามเสร็จแล้ว โปรดให้อาราธนามาเป็นอธิบดีสงฆ์วัดสุทัศน์ฯ เป็นองค์แรกจึงทรงเลื่อนเป็น[[พระพิมลธรรม]] คราวเดียวกับทรงตั้ง[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)]] มีสำเนาที่ทรงตั้ง ดังนี้ "''ให้พระธรรมไตรโลก เป็นพระพิมลธรรม อนันญาณนายก ติปิฏกธรา มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวkสี สถิตในวัดสุทัศนเทพธารามอาวาศวรวิหาร พระอารามหลวง ทรงตั้งวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือน 6 ปีเถาะพุทธศักราช 2386''"
ครั้งถึงปีเถาะ พ.ศ. 2386 เมื่อทรงบูรณะวัดสุทัศนเทพวรารามเสร็จแล้ว โปรดให้อาราธนามาเป็นอธิบดีสงฆ์วัดสุทัศน์ฯ เป็นองค์แรกจึงทรงเลื่อนเป็น[[พระพิมลธรรม]] คราวเดียวกับทรงตั้ง[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)]] มีสำเนาที่ทรงตั้ง ดังนี้ "''ให้พระธรรมไตรโลก เป็นพระพิมลธรรม อนันญาณนายก ติปิฏกธรา มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิตในวัดสุทัศนเทพธารามอาวาศวรวิหาร พระอารามหลวง ทรงตั้งวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือน 6 ปีเถาะพุทธศักราช 2386''"


==ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช==
==ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช==
เมื่อ[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)]] สิ้นพระชนม์ [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระราชดำริจะให้ท่านเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์โปรดให้อาลักษณ์ร่างนามที่จะทรงแต่งตั้งอยู่แล้ว ลงศุภมัศคุกำหนดวันจะทรงตั้งเป็นวันอังคาร แรม 15 ค่ำ เดือน 4 ปีจอ พ.ศ. 2393 แต่ประจวบเวลาทรงพระประชวร พระอาการมาก จึงมิได้ทรงตั้ง พอพ้นวันที่กำหนดจะทรงตั้งไปวันเดียวก็เสร็จสวรรคตเสียก่อน
เมื่อ[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค)]] สิ้นพระชนม์ [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระราชดำริจะให้ท่านเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]] พระองค์โปรดให้อาลักษณ์ร่างนามที่จะทรงแต่งตั้งอยู่แล้ว ลงศุภมัศคุกำหนดวันจะทรงตั้งเป็นวันอังคาร แรม 15 ค่ำ เดือน 4 ปีจอ พ.ศ. 2393 แต่ประจวบเวลาทรงพระประชวร พระอาการมาก จึงมิได้ทรงตั้ง พอพ้นวันที่กำหนดจะทรงตั้งไปวันเดียวก็เสร็จสวรรคตเสียก่อน


==สมเด็จพระราชาคณะ==
==สมเด็จพระราชาคณะ==
ถึงรัชกาลที่ 4 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงตั้ง[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนุชิตชิโนรส]] เป็นกรมสมเด็จพระ ดำรงสมณศักดิ์ที่[[สมเด็จพระสังฆราช]]เจ้า และทรงสถาปนาพระพิมลธรรม (อู่) เป็น[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ]] ตำแหน่ง[[เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ]] มีสำเนาที่ทรงตั้ง ดังนี้ {{คำพูด|ให้เลื่อนพระพิมลธรรม ขึ้นเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ปริยัติวรสังฆาธิบดี ศรีสมณุตมปรินายก ตรีปิฏกโกศล วิมลปรีชา มหาอุดมคณิฤศร บวรลังฏาราม คามวสี อรัญวาสี สถิต วัดสุทัศน์เทพวรารามวรวิหาร พระอารามหลวง นิจภัตรเดือนละ 5 ตำลึง มีถานานุศักดิ์ควรตั้งถานานุกรมได้ 10 รูป<ref name="เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑">สมมติอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ, ''เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑'', กรมศิลปากร, 2545, หน้า 77</ref>}}
ถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงตั้ง[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนุชิตชิโนรส]] เป็นกรมสมเด็จพระ ดำรงสมณศักดิ์ที่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และทรงสถาปนาพระพิมลธรรม (อู่) เป็น[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ]] ตำแหน่ง[[เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ]] มีสำเนาที่ทรงตั้ง ดังนี้ {{คำพูด|ให้เลื่อนพระพิมลธรรม ขึ้นเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ปริยัติวรสังฆาธิบดี ศรีสมณุตมปรินายก ตรีปิฏกโกศล วิมลปรีชา มหาอุดมคณิฤศร บวรลังฏาราม คามวสี อรัญวาสี สถิต วัดสุทัศน์เทพวรารามวรวิหาร พระอารามหลวง นิจภัตรเดือนละ 5 ตำลึง มีถานานุศักดิ์ควรตั้งถานานุกรมได้ 10 รูป<ref name="เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑">สมมติอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ, ''เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑'', กรมศิลปากร, 2545, หน้า 77</ref>}}


==มรณภาพ==
==มรณภาพ==
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) ถึงแก่มรณภาพในรัชกาลที่ 4 เมื่อ ณ วัน อังคาร เดือน 9 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะเมีย พ.ศ. 2401 เวลาเช้า เข้าโกศลวันพุธ แรม 1 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเมีย ครองวัดสุทัศนเทพวราราม ได้ 14 ปี มีอายุพรรษาเท่าไรไม่ปรากฏ
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) ถึงแก่มรณภาพในรัชกาลที่ 4 เมื่อ ณ วันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะเมีย พ.ศ. 2401 เวลาเช้า เข้าโกศวันพุธ แรม 1 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเมีย ครองวัดสุทัศนเทพวราราม ได้ 14 ปี มีอายุพรรษาเท่าไรไม่ปรากฏ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 37: บรรทัด 37:


{{เรียงลำดับ|อริยวงศาคตญาณ (อู่}}
{{เรียงลำดับ|อริยวงศาคตญาณ (อู่}}
{{อายุขัย||2401}}
{{เกิดปี|}}{{ตายปี|2401}}
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 9 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 9 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระราชาคณะ]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระราชาคณะ]]
[[หมวดหมู่:เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:12, 30 พฤศจิกายน 2558

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

(อู่ )
ไฟล์:สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่).jpg
ส่วนบุคคล
มรณภาพพ.ศ. 2401
นิกายมหานิกาย
ตำแหน่งชั้นสูง
ที่อยู่วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร
ตำแหน่งอดีตเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร และวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร

ประวัติ

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ นามเดิมของท่านว่า อู่ ส่วนประวัติชั้นบวชเรียนและเปรียญนั้นไม่ทราบว่าเป็นอย่างไร ไม่ได้ความปรากฏ กล่าวกันว่าท่านเป็นผู้ฉลาดสามารถในพระปริยัติธรรมเป็นเปรียญธรรม 9 ประโยค ถึงปีเถาะ พ.ศ. 2374 วันพฤหัสบดีขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่พระธรรมไตรโลก มีสำเนาที่ทรงตั้งดังนี้ "ให้เลื่อน พระราชกระวี เป็นพระธรรมติโลกาจารย์ ญาณวิสารทนายก ติปิฏกธรา บวรสังฆาราม คามวสี สถิต ณ วัดเกาะวรวิหาร พระอารามหลวง"

ครั้งถึงปีเถาะ พ.ศ. 2386 เมื่อทรงบูรณะวัดสุทัศนเทพวรารามเสร็จแล้ว โปรดให้อาราธนามาเป็นอธิบดีสงฆ์วัดสุทัศน์ฯ เป็นองค์แรกจึงทรงเลื่อนเป็นพระพิมลธรรม คราวเดียวกับทรงตั้งสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) มีสำเนาที่ทรงตั้ง ดังนี้ "ให้พระธรรมไตรโลก เป็นพระพิมลธรรม อนันญาณนายก ติปิฏกธรา มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิตในวัดสุทัศนเทพธารามอาวาศวรวิหาร พระอารามหลวง ทรงตั้งวันพุธ แรม 11 ค่ำ เดือน 6 ปีเถาะพุทธศักราช 2386"

ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช

เมื่อสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (นาค) สิ้นพระชนม์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริจะให้ท่านเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์โปรดให้อาลักษณ์ร่างนามที่จะทรงแต่งตั้งอยู่แล้ว ลงศุภมัศคุกำหนดวันจะทรงตั้งเป็นวันอังคาร แรม 15 ค่ำ เดือน 4 ปีจอ พ.ศ. 2393 แต่ประจวบเวลาทรงพระประชวร พระอาการมาก จึงมิได้ทรงตั้ง พอพ้นวันที่กำหนดจะทรงตั้งไปวันเดียวก็เสร็จสวรรคตเสียก่อน

สมเด็จพระราชาคณะ

ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนุชิตชิโนรส เป็นกรมสมเด็จพระ ดำรงสมณศักดิ์ที่สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และทรงสถาปนาพระพิมลธรรม (อู่) เป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ มีสำเนาที่ทรงตั้ง ดังนี้

ให้เลื่อนพระพิมลธรรม ขึ้นเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ปริยัติวรสังฆาธิบดี ศรีสมณุตมปรินายก ตรีปิฏกโกศล วิมลปรีชา มหาอุดมคณิฤศร บวรลังฏาราม คามวสี อรัญวาสี สถิต วัดสุทัศน์เทพวรารามวรวิหาร พระอารามหลวง นิจภัตรเดือนละ 5 ตำลึง มีถานานุศักดิ์ควรตั้งถานานุกรมได้ 10 รูป[1]

มรณภาพ

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อู่) ถึงแก่มรณภาพในรัชกาลที่ 4 เมื่อ ณ วันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 15 ค่ำ ปีมะเมีย พ.ศ. 2401 เวลาเช้า เข้าโกศวันพุธ แรม 1 ค่ำ เดือน 9 ปีมะเมีย ครองวัดสุทัศนเทพวราราม ได้ 14 ปี มีอายุพรรษาเท่าไรไม่ปรากฏ

อ้างอิง

  1. สมมติอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ, เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, กรมศิลปากร, 2545, หน้า 77