ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
'''โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย''' ({{lang-en|listeriosis}}) เป็น[[โรคติดเชื้อแบคทีเรีย]]อย่างหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ ''[[Listeria monocytogenes]]'' เชื้ออื่นที่อาจเป็นสาเหตุได้เช่น ''L. ivanovii'' และ ''L. grayi'' เชื้อนี้มักทำให้เกิดการติดเชื้อใน[[ระบบประสาท]] (เช่น [[เยื่อหุ้มสมองอักเสบ]] [[เยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ]] [[ฝีในสมอง]] [[สมองใหญ่อักเสบ]]) และ[[ภาวะเลือดมีแบคทีเรีย]]ได้ในผู้ที่มี[[ภูมิคุ้มกันบกพร่อง]] หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ผู้ที่มีสุขภาพปกติหากติดเชื้อรุนแรงอาจมี[[ลำไส้อักเสบ]]ได้ เชื้อนี้พบได้ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม ติดต่อผ่านการกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ เมื่อกินเข้าไปแล้วเชื้อจะรุกล้ำเข้าผ่านทางเดินอาหารทำให้เกิดการติดเชื้อทั่วร่างกายได้ การจะวินิจฉัยการติดเชื้อนี้ทำได้โดย[[การเพาะเชื้อจากเลือด]]หรือจาก[[น้ำหล่อสมองไขสันหลัง]] การรักษาทำได้โดยให้[[ยาปฏิชีวนะ]]เป็นเวลานาน ยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้ผลเป็นส่วนใหญ่คือ[[แอมพิซิลลิน]]และ[[เจนตาไมซิน]]
'''โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย''' ({{lang-en|listeriosis}}) เป็น[[โรคติดเชื้อแบคทีเรีย]]อย่างหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ ''[[Listeria monocytogenes]]'' เชื้ออื่นที่อาจเป็นสาเหตุได้เช่น ''L. ivanovii'' และ ''L. grayi'' เชื้อนี้มักทำให้เกิดการติดเชื้อใน[[ระบบประสาท]] (เช่น [[เยื่อหุ้มสมองอักเสบ]] [[เยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ]] [[ฝีในสมอง]] [[สมองใหญ่อักเสบ]]) และ[[ภาวะเลือดมีแบคทีเรีย]]ได้ในผู้ที่มี[[ภูมิคุ้มกันบกพร่อง]] หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ผู้ที่มีสุขภาพปกติหากติดเชื้อรุนแรงอาจมี[[ลำไส้อักเสบ]]ได้ เชื้อนี้พบได้ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม ติดต่อผ่านการกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ เมื่อกินเข้าไปแล้วเชื้อจะรุกล้ำเข้าผ่านทางเดินอาหารทำให้เกิดการติดเชื้อทั่วร่างกายได้ การจะวินิจฉัยการติดเชื้อนี้ทำได้โดย[[การเพาะเชื้อจากเลือด]]หรือจาก[[น้ำหล่อสมองไขสันหลัง]] การรักษาทำได้โดยให้[[ยาปฏิชีวนะ]]เป็นเวลานาน ยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้ผลเป็นส่วนใหญ่คือ[[แอมพิซิลลิน]]และ[[เจนตาไมซิน]]
[[หมวดหมู่:โรคติดเชื้อแบคทีเรีย]]
[[หมวดหมู่:โรคติดเชื้อแบคทีเรีย]]
{{โครงแพทย์}}
[[หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย]]
[[หมวดหมู่:ภาวะเกี่ยวกับผิวหนังซึ่งสัมพันธ์กับการติดเชื้อแบคทีเรีย]]
[[หมวดหมู่:โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย]]
[[หมวดหมู่:โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย]]
{{โครงแพทย์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:59, 29 พฤศจิกายน 2558

โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย
(Listeriosis)
เชื้อ Listeria monocytogenes
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10A32
ICD-9027.0
DiseasesDB7503
MedlinePlus001380
eMedicinemed/1312 ped/1319
MeSHD008088

โรคติดเชื้อลิสเทอเรีย (อังกฤษ: listeriosis) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียอย่างหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ Listeria monocytogenes เชื้ออื่นที่อาจเป็นสาเหตุได้เช่น L. ivanovii และ L. grayi เชื้อนี้มักทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบประสาท (เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ ฝีในสมอง สมองใหญ่อักเสบ) และภาวะเลือดมีแบคทีเรียได้ในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หญิงตั้งครรภ์ ทารกแรกเกิด ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ผู้ที่มีสุขภาพปกติหากติดเชื้อรุนแรงอาจมีลำไส้อักเสบได้ เชื้อนี้พบได้ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม ติดต่อผ่านการกินอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ เมื่อกินเข้าไปแล้วเชื้อจะรุกล้ำเข้าผ่านทางเดินอาหารทำให้เกิดการติดเชื้อทั่วร่างกายได้ การจะวินิจฉัยการติดเชื้อนี้ทำได้โดยการเพาะเชื้อจากเลือดหรือจากน้ำหล่อสมองไขสันหลัง การรักษาทำได้โดยให้ยาปฏิชีวนะเป็นเวลานาน ยาปฏิชีวนะที่ใช้ได้ผลเป็นส่วนใหญ่คือแอมพิซิลลินและเจนตาไมซิน