ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุภาพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เหตุภาพ''' (หรือเรียกว่า 'เหตุกรรม' หรือ 'เหตุและผล') เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง[[เหตุการณ์ (ปรัชญา)|เหตุการณ์]]หนึ่ง (''สาเหตุ'') และอีกเหตุการณ์ถึง (''[[ผลลัพธ์]]'') โดยเข้าใจกันว่าเหตุการณ์แรกมีผลให้เกิดเหตุการณ์ที่สอง
'''เหตุภาพ''' (อาจเรียกว่า '''เหตุกรรม''' หรือ '''[[เหตุผล|เหตุและผล]]''') เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง[[เหตุการณ์ (ปรัชญา)|เหตุการณ์]]หนึ่ง (สาเหตุ) และอีกเหตุการณ์หนึ่ง ([[ผลลัพธ์]]) โดยเข้าใจกันว่าเหตุการณ์แรกมีผลให้เกิดเหตุการณ์ที่สอง


ในการใช้ทั่วไป เหตุภาพยังเป็นความสัมพันธ์ระหว่างชุดของปัจจัย (สาเหตุต่าง ๆ) และปรากฏการณ์ (ผลลัพธ์) สิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ถือเป็นปัจจัยต่อผลลัพธ์นั้น ปัจจัยตรงคือปัจจัยที่ส่งผลต่อผลลัพธ์โดยตรง โดยไม่มีปัจจัยอื่นใดเข้ามาข้องเกี่ยว (ปัจจัยที่เข้ามาข้องเกี่ยวบางครั้งเรียกว่า "ปัจจัยระหว่างกลาง") ความเชื่อมโยงระหว่างสาเหตุและผลลัพธ์เช่นนี้อาจเรียกได้ว่าเป็น ''causal nexus''<ref>http://psychologydictionary.org/causal-nexus/</ref>
ในการใช้ทั่วไป เหตุภาพยังเป็นความสัมพันธ์ระหว่างชุดของปัจจัย (สาเหตุต่าง ๆ) และปรากฏการณ์ (ผลลัพธ์) สิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ถือเป็นปัจจัยต่อผลลัพธ์นั้น ปัจจัยตรงคือปัจจัยที่ส่งผลต่อผลลัพธ์โดยตรง โดยไม่มีปัจจัยอื่นใดเข้ามาข้องเกี่ยว (ปัจจัยที่เข้ามาข้องเกี่ยวบางครั้งเรียกว่า "ปัจจัยระหว่างกลาง") ความเชื่อมโยงระหว่างสาเหตุและผลลัพธ์เช่นนี้อาจเรียกได้ว่าเป็น ''causal nexus''<ref>http://psychologydictionary.org/causal-nexus/</ref>
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางญาณวิทยา]]
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางญาณวิทยา]]
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางอภิปรัชญา]]
[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางอภิปรัชญา]]
{{โครงปรัชญา}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:33, 28 ตุลาคม 2558

เหตุภาพ (อาจเรียกว่า เหตุกรรม หรือ เหตุและผล) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์หนึ่ง (สาเหตุ) และอีกเหตุการณ์หนึ่ง (ผลลัพธ์) โดยเข้าใจกันว่าเหตุการณ์แรกมีผลให้เกิดเหตุการณ์ที่สอง

ในการใช้ทั่วไป เหตุภาพยังเป็นความสัมพันธ์ระหว่างชุดของปัจจัย (สาเหตุต่าง ๆ) และปรากฏการณ์ (ผลลัพธ์) สิ่งใดที่ส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์ถือเป็นปัจจัยต่อผลลัพธ์นั้น ปัจจัยตรงคือปัจจัยที่ส่งผลต่อผลลัพธ์โดยตรง โดยไม่มีปัจจัยอื่นใดเข้ามาข้องเกี่ยว (ปัจจัยที่เข้ามาข้องเกี่ยวบางครั้งเรียกว่า "ปัจจัยระหว่างกลาง") ความเชื่อมโยงระหว่างสาเหตุและผลลัพธ์เช่นนี้อาจเรียกได้ว่าเป็น causal nexus[1]

อ้างอิง[แก้]