ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอเชียนคัพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| region = นานาชาติ ([[ฟีฟ่า]])
| region = นานาชาติ ([[ฟีฟ่า]])
| number of teams = 16 (รอบสุดท้าย)<br />24 ทีม ([[เอเชียนคัพ 2019]])
| number of teams = 16 (รอบสุดท้าย)<br />24 ทีม ([[เอเชียนคัพ 2019]])
| current champions = {{fb|AUS}} ครั้งที่ 4
| current champions = {{fb|AUS}} ครั้งแรก
| most successful team = {{fb|Japan}} (4 ครั้ง)
| most successful team = {{fb|Japan}} (4 ครั้ง)
| website = [http://www.the-afc.com/competition/afc-asian-cup เอเชียนคัพ]
| website = [http://www.the-afc.com/competition/afc-asian-cup เอเชียนคัพ]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:33, 15 ตุลาคม 2558

เอเชียนคัพ
ก่อตั้งพ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956)
ภูมิภาคนานาชาติ (ฟีฟ่า)
จำนวนทีม16 (รอบสุดท้าย)
24 ทีม (เอเชียนคัพ 2019)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ครั้งแรก
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (4 ครั้ง)
เว็บไซต์เอเชียนคัพ
เอเชียนคัพ 2015

เอเชียนคัพ (อังกฤษ: AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะการแข่งขันจะได้รับตำแหน่งแชมเปียนของเอเชียนคัพ การจัดการแข่งขันจัดขึ้นทุก 4 ปี โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และจัดต่อเนื่องทุก 4 ปี จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2547 ได้เล็งเห็นว่าเอเชียนคัพจัดตรงกับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ทำให้ทางเอเอฟซีเลื่อนจัดการแข่งขันครั้งต่อไปเป็น พ.ศ. 2550 (2007) และหลังจากนั้นจัดทุก 4 ปีเหมือนเคย ล่าสุด เอเชียนคัพ 2011 จัดขึ้นโดยประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ ประเทศกาตาร์

ออสเตรเลียได้เข้าร่วมในปี พ.ศ. 2550 และได้เป็นเจ้าภาพ เอเชียนคัพ 2015 (2558) และในการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2019 จะเพิ่มเป็น 24 ทีม และได้มีโอกาศเข้าแข่งฟุตบอลโลก 2018

ผลการแข่งขัน

สาระสำคัญ

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่สาม จำนวนทีม
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
เอเชียนคัพ 2019
(2562)
อาหรับเอมิเรตส์ (จัดขึ้น พ.ศ. 2562) 24
เอเชียนคัพ 2015
(2558)
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 - 1
(2 - 1)
(ต่อเวลาพิเศษ)
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาหรับเอมิเรตส์ 3 - 2 อิรัก อิรัก 16
เอเชียนคัพ 2011
(2554)
กาตาร์ ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 0 - 0
(1 - 0)
(ต่อเวลาพิเศษ)
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 - 2 อุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 16
เอเชียนคัพ 2007
(2550)
ไทย
มาเลเซีย
เวียดนาม
อินโดนีเซีย
อิรัก อิรัก 1 - 0 ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 0 - 0
(6 - 5)
(ลูกโทษ)
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 16
เอเชียนคัพ 2004
(2547)
จีน ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 - 1 จีน จีน อิหร่าน อิหร่าน 4 - 2 บาห์เรน บาห์เรน 16
เอเชียนคัพ 2000
(2543)
เลบานอน ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 - 0 ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1 - 0 จีน จีน 12
เอเชียนคัพ 1996
(2539)
อาหรับเอมิเรตส์ ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 0 - 0
(4 - 2)
(ลูกโทษ)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาหรับเอมิเรตส์ อิหร่าน อิหร่าน 1 - 1
(3 - 2)
(ลูกโทษ)
คูเวต คูเวต 12
เอเชียนคัพ 1992
(2535)
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 - 0 ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย จีน จีน 1 - 1
(3 - 2)
(ลูกโทษ)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาหรับเอมิเรตส์ 8
เอเชียนคัพ 1988
(2531)
กาตาร์ ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 0 - 0
(4 - 3)
(ลูกโทษ)
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ อิหร่าน อิหร่าน 0 - 0
(3 - 0)
(ลูกโทษ)
จีน จีน 10
เอเชียนคัพ 1984
(2527)
สิงคโปร์ ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 2 - 0 จีน จีน คูเวต คูเวต 1 - 1
(3 - 2)
(ลูกโทษ)
อิหร่าน อิหร่าน 10
เอเชียนคัพ 1980
(2523)
คูเวต คูเวต คูเวต 3 - 0 เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ อิหร่าน อิหร่าน 3 - 0 เกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 10
เอเชียนคัพ 1976
(2519)
อิหร่าน อิหร่าน อิหร่าน 1 - 0 คูเวต คูเวต จีน จีน 1 - 0 อิรัก 6
เอเชียนคัพ 1972
(2515)
ไทย อิหร่าน อิหร่าน 2 - 1 เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ไทย ไทย 2 - 2
(5 - 3)
(ลูกโทษ)
กัมพูชา กัมพูชา 6
เอเชียนคัพ 1968
(2511)
อิหร่าน อิหร่าน อิหร่าน ไม่มี[1] ประเทศพม่าพม่า อิสราเอล อิสราเอล ไม่มี[1] สาธารณรัฐจีน สาธารณรัฐจีน 5
เอเชียนคัพ 1964
(2507)
อิสราเอล อิสราเอล อิสราเอล ไม่มี[1] อินเดีย อินเดีย เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ไม่มี[1] ฮ่องกง ฮ่องกง 4
เอเชียนคัพ 1960
(2503)
เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ไม่มี[1] อิสราเอล อิสราเอล สาธารณรัฐจีน สาธารณรัฐจีน ไม่มี[1] เวียดนามใต้ เวียดนามใต้ 4
เอเชียนคัพ 1956
(2499)
ฮ่องกง เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ไม่มี[1] อิสราเอล อิสราเอล ฮ่องกง ฮ่องกง ไม่มี[1] เวียดนามใต้ เวียดนามใต้ 4
ประเทศที่เป็นเจ้าภาพเอเชียนคัพ
  2
  1

ความสำเร็จในการแข่งขัน

ทีมชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม อันดับสี่ Top Two Top Three Top Four
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4 (1992*, 2000, 2004, 2011) 1 (2007) 4 4 5
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 3 (1984, 1988, 1996) 3 (1992, 2000, 2007) 6 6 6
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 3 (1968*, 1972, 1976*) 4 (1980, 1988, 1996, 2004) 1 (1984) 3 7 8
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 2 (1956, 1960*) 4 (1972, 1980, 1988, 2015) 4 (1964, 2000, 2007, 2011) 6 10 10
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล1 1 (1964*) 2 (1956, 1960) 1 (1968) 3 4 4
ธงชาติคูเวต คูเวต 1 (1980*) 1 (1976) 1 (1984) 1 (1996) 2 3 4
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 (2015*) 1 (2011) 2 2 2
ธงชาติอิรัก อิรัก 1 (2007) 2 (1976, 2015) 1 1 3
ธงชาติจีน จีน 2 (1984, 2004) 2 (1976, 1992) 2 (1988, 2000) 2 4 6
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1 (1996*) 1 (2015) 1 (1992) 1 2 3
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 1 (1964) 1 1 1
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 1 (1968) 1 1 1
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 1 (1956*) 1 (1964) 1 2
ธงชาติสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน 1 (1960) 1 (1968) 1 2
ธงชาติไทย ไทย 1 (1972*) 1 1
ธงชาติเวียดนามใต้ เวียดนามใต้ 2 (1956, 1960) 2
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 1 (1972) 1
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 1 (1980) 1
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 1 (2004) 1
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 1 (2011) 1
* เจ้าภาพ
1 อิสราเอลในปัจจุบันเป็นสมาชิกยูฟ่า[2]

ผลการแข่งขันของประเทศเจ้าภาพ

ปี ประเทศเจ้าภาพ ผล
1956 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง อันดับ 3
1960 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ชนะเลิศ
1964 ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล ชนะเลิศ
1968 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน ชนะเลิศ
1972 ธงชาติไทย ไทย อันดับ 3
1976 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน ชนะเลิศ
1980 ธงชาติคูเวต คูเวต ชนะเลิศ
1984 ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ รอบคัดเลือก
1988 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ รอบคัดเลือก
1992 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ชนะเลิศ
1996 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รองชนะเลิศ
2000 ธงชาติเลบานอน เลบานอน รอบคัดเลือก
2004 ธงชาติจีน จีน รองชนะเลิศ
2007 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม รอบก่อนชิงชนะเลิศ
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย รอบคัดเลือก
ธงชาติไทย ไทย รอบคัดเลือก
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย รอบคัดเลือก
2011 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ รอบก่อนชิงชนะเลิศ
2015 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ชนะเลิศ

ผลการแข่งขันในการรักษาแชม

ปี การรักษาแชม ผล
1960 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ชนะเลิศ
1964 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ อันดับ 3
1968 ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล อันดับ 3
1972 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน ชนะเลิศ
1976 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน ชนะเลิศ
1980 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน อันดับ 3
1984 ธงชาติคูเวต คูเวต อันดับ 3
1988 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย ชนะเลิศ
1992 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย รองชนะเลิศ
1996 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น รอบก่อนชิงชนะเลิศ
2000 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย รองชนะเลิศ
2004 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ชนะเลิศ
2007 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น อันดับ 4
2011 ธงชาติอิรัก อิรัก รอบก่อนชิงชนะเลิศ
2015 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น รอบก่อนชิงชนะเลิศ

ความสำเร็จแบ่งตามภูมิภาค

แผนที่แสดงภูมิภาคในเอเอฟซี
ภูมิภาค ผลงานที่ดีที่สุด
เอเชียตะวันตก ชนะเลิศ 5 ครั้ง โดย ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย คูเวต คูเวต อิรัก อิรัก (1980, 1984, 1988, 1996, 2007)
เอเชียตะวันออก ชนะเลิศ 6 ครั้ง โดย ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (1956, 1960, 1992, 2000, 2004,2011)
อาเซียน ชนะเลิศ โดย ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (2015)
เอเชียใต้ รองชนะเลิศ โดย อินเดีย อินเดีย (1964)
เอเชียกลาง ชนะเลิศ 3 ครั้ง โดย อิหร่าน อิหร่าน (1968, 1972, 1976)

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

ทีมชาติ ฮ่องกง
1956
เกาหลีใต้
1960
อิสราเอล
1964
อิหร่าน
1968
ไทย
1972
อิหร่าน
1976
คูเวต
1980
สิงคโปร์
1984
ประเทศกาตาร์
1988
ญี่ปุ่น
1992
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
1996
เลบานอน
2000
จีน
2004
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
ไทย
เวียดนาม
2007
ประเทศกาตาร์
2011
ออสเตรเลีย
2015
ปี
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย QF 2nd 1st 3
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน GS 4th GS GS GS 5
ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ GS 1
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 4th 1
ธงชาติจีน จีน 3rd GS 2nd 4th 3rd QF 4th 2nd GS GS QF 11
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 3rd 4th 2
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 3rd 4th 5th 3
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 2nd GS GS 3
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย GS GS GS GS 4
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 1st 1st 1st 3rd 4th 3rd GS 3rd QF 3rd QF QF QF 13
ธงชาติอิรัก อิรัก GS 4th QF QF QF 1st QF 4th 8
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล 2nd 2nd 1st 3rd 4
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS 1st QF 1st 1st 4th 1st QF 8
ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน QF QF GS 3
ธงชาติคูเวต คูเวต GS 2nd 1st 3rd GS 4th QF GS GS GS 10
ธงชาติเลบานอน เลบานอน GS 1
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย GS GS GS 3
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 2nd 1
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 4th GS GS GS 4
ธงชาติโอมาน โอมาน GS GS GS 3
ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ GS 1
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ GS GS GS GS QF GS GS QF GS 9
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 1st 1st 2nd 1st 2nd GS 2nd GS GS 9
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ GS 1
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1st 1st 3rd 2nd 2nd GS 2nd QF 3rd QF 3rd 3rd 2nd 13
ธงชาติเวียดนามใต้ เวียดนามใต้ 4th 4th 2
ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน เยเมนใต้ GS 1
ธงชาติซีเรีย ซีเรีย GS GS GS GS GS 5
ธงชาติไทย ไทย 3rd GS GS GS GS GS 6
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน GS 1
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ GS GS GS 4th 2nd GS GS GS 3rd 9
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน GS GS QF QF 4th QF 6
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม QF 1
Total 4 4 4 5 6 6 10 10 10 8 12 12 16 16 16 16
สัญลักษณ์
  • 1st – แชม
  • 2nd – รองแชม
  • 3rd – ที่ 3
  • 4th – ที่ 4
  • QF – รอบก่อนชิงชนะเลิศ
  • GS – รอบคัดเลือก
  • q – เข้ารอบแต่ยังไม่ได้แข่ง
  •     — เจ้าภาพ


แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด

การปรากฏตัวของทีม

ปี ปรากฏตัว รวม
1956 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง
ธงชาติเวียดนามใต้ เวียดนามใต้
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล
4
1960 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1
1964 ธงชาติอินเดีย อินเดีย 1
1968 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติประเทศพม่า พม่า
2
1972 ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา
ธงชาติอิรัก อิรัก
ธงชาติคูเวต คูเวต
ธงชาติไทย ไทย
4
1976 ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน เยเมนใต้
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
ธงชาติจีน จีน
3
1980 ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์
ธงชาติซีเรีย ซีเรีย
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
6
1984 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์
2
1988 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2
1992 None 0
1996 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
2
2000 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 1
2004 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
ธงชาติโอมาน โอมาน
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน
3
2007 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
2
2011 None 0
2015 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ 1

รางวัล แฟร์ เพลย์

ปี ประเทศ
1984 ธงชาติจีน จีน
1996 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
2000 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
2004 ธงชาติจีน จีน
2007 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
2011 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
2015 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย

ผู้ยิงประตูสูงสุดโดยรวม

ประตู ผู้เล่น
14 อิหร่าน Ali Daei
10 เกาหลีใต้ Lee Dong-Gook
9 ญี่ปุ่น Naohiro Takahara
8 คูเวต Jassem Al-Houwaidi, อิรัก Younis Mahmoud
7 อิหร่าน Behtash Fariba, อิหร่าน Hossein Kalani, เกาหลีใต้ Choi Soon-Ho, คูเวต Faisal Al-Dakhil,
6 ซาอุดีอาระเบีย Yasser Al-Qahtani, อุซเบกิสถาน Alexander Geynrikh, ออสเตรเลีย Tim Cahill
5 บาห์เรน A'ala Hubail, บาห์เรน Ismael Abdullatif, อิหร่าน Ali Karimi, อิหร่าน Ali Jabbari, ญี่ปุ่น Akinori Nishizawa, เกาหลีใต้ Woo Sang-Kwon, เกาหลีใต้ Chung Hae-Won, เกาหลีใต้ Hwang Sun-Hong, เกาหลีใต้ Koo Ja-Cheol, อิสราเอล Nahum Stelmach, จีน Shao Jiayi, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ali Mabkhout

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 รอบสุดท้ายทัวร์นาเมนต์ของเอเชียนคัพ 1956 -1968 เป็นการแข่งขันแบบพบกันหมด
  2. "About the IFA". The Israel Football Association. สืบค้นเมื่อ 27 July 2014.

แม่แบบ:ฟุตบอลถ้วยระดับโลก