ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุกกาบาต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:willamette meteorite.jpg|thumb|300px|ภาพอุกกาบาตที่ถูกพบใน[[สหรัฐอเมริกา]]]]
[[ไฟล์:willamette meteorite.jpg|thumb|300px|ภาพอุกกาบาตที่ถูกพบใน[[สหรัฐอเมริกา]]]]
'''อุกกาบาต''' คือ วัตถุในอวกาศ ที่ผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่โลก ตอนอยู่ในอวกาศจะเรียกว่า สะเก็ดดาวตก พอเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลก จะเรียกว่า ดาวตก เราสามารถพบหรือเจออุกกาบาตได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวอังคาร เป็นต้น อุกกาบาตเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงประมาณ 40-70 กิโลเมตร/วินาที และเสียดสีกับชั้นบรรยากาศโลกจนเกิดความร้อนสูง สะเก็ดอุกกาบาตเล็กจะถูกเผาไหม้จนหมดแต่สำหรับก้อนที่มีขนาดใหญ่นั้นจะไม่ถูกเผาไหม้จนหมดทำให้ตกมายันบนพื้นโลก และเกิดหลุมอุกกาบาต
'''อุกกาบาต''' คือ วัตถุในอวกาศ ที่ผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่โลก ตอนอยู่ในอวกาศจะเรียกว่า สะเก็ดดาวตก พอเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลก จะเรียกว่า ดาวตก เราสามารถพบหรือเจออุกกาบาตได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวอังคาร เป็นต้น อุกกาบาตเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงประมาณ 40-70 กิโลเมตร/วินาที และเกิดการ compression กับอากาศในชั้นบรรยากาศโลก ทำให้อากาศรอบๆอุกกาบาตมีความดันสูงขึ้นจึงเกิดความร้อนสูงจนลุกไหม้ สะเก็ดอุกกาบาตเล็กจะถูกเผาไหม้จนหมดแต่สำหรับก้อนที่มีขนาดใหญ่นั้นจะไม่ถูกเผาไหม้จนหมดทำให้ตกมายันบนพื้นโลก และเกิดหลุมอุกกาบาต


[[ไฟล์:JaH 026 type L3.1 xpolar.jpg|thumb|ชนิดของอุกกาบาต]]
[[ไฟล์:JaH 026 type L3.1 xpolar.jpg|thumb|ชนิดของอุกกาบาต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:45, 7 ตุลาคม 2558

ภาพอุกกาบาตที่ถูกพบในสหรัฐอเมริกา

อุกกาบาต คือ วัตถุในอวกาศ ที่ผ่านชั้นบรรยากาศลงมาสู่โลก ตอนอยู่ในอวกาศจะเรียกว่า สะเก็ดดาวตก พอเข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลก จะเรียกว่า ดาวตก เราสามารถพบหรือเจออุกกาบาตได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น เช่น ดาวอังคาร เป็นต้น อุกกาบาตเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงประมาณ 40-70 กิโลเมตร/วินาที และเกิดการ compression กับอากาศในชั้นบรรยากาศโลก ทำให้อากาศรอบๆอุกกาบาตมีความดันสูงขึ้นจึงเกิดความร้อนสูงจนลุกไหม้ สะเก็ดอุกกาบาตเล็กจะถูกเผาไหม้จนหมดแต่สำหรับก้อนที่มีขนาดใหญ่นั้นจะไม่ถูกเผาไหม้จนหมดทำให้ตกมายันบนพื้นโลก และเกิดหลุมอุกกาบาต

ชนิดของอุกกาบาต

ชนิดของอุกกาบาต มีดังนี้

  1. C-type อุกกาบาตคาร์บอนมีสีคล้ำ มีองค์ประกอบเป็นคาร์บอน
  2. S-type อุกกาบาตหิน มีองค์ประกอบเป็นซิลิกา
  3. M-type อุกกาบาตโลหะ มีองค์ประกอบเป็นเหล็กและนิเกิล

นอกจากอุกกาบาตจะเกิดขึ้นจากสะเก็ดดาวเคราะห์น้อยแล้ว ยังมีอุกกาบาตบนพื้นโลกที่มาจากดวงจันทร์และดาวอังคาร ซึ่งในปี พ.ศ. 2539 ได้มีการค้นพบอุกกาบาต ALH84001 ซึ่งเป็นสะเก็ดของดาวอังคารที่ตกลงบนน้ำแข็งในทวีปแอนตาร์กติก ใน 65 ล้านปีที่ผ่านมา อุกกาบาตขนาดใหญ่พุ่งชนโลกที่ ซิคซูลูบ คาบสมุทรยูคาทาน ประเทศเม็กซิโก ทำให้ไดโนเสาร์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ สูญพันธุ์เป็นจำนวนมาก

แหล่งข้อมูลอื่น