ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
หลวงสิริราชไมตรี มีนามเดิมว่า '''จรูญ สิงหเสนี''' เกิดที่[[จังหวัดนครราชสีมา]] เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2441 เป็นบุตรคนที่ 3 ของ[[พระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี)]] กับคุณหญิงตุ่ม (บุตรสาวของนายเดช-นางใย สิงหเสนี)
หลวงสิริราชไมตรี มีนามเดิมว่า '''จรูญ สิงหเสนี''' เกิดที่[[จังหวัดนครราชสีมา]] เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2441 เป็นบุตรคนที่ 3 ของ[[พระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี)]] กับคุณหญิงตุ่ม (บุตรสาวของนายเดช-นางใย สิงหเสนี)


เมื่อายุได้ 7 ปี ได้ย้ายมาอยู่กรุงเทพมหานคร และเข้าศึกษาที่[[โรงเรียนบพิตรพิมุข]] [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] [[โรงเรียนราชวิทยาลัย]] และ[[โรงเรียนกฎหมาย]] ตามลำดับ ได้เข้าร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457-พ.ศ. 2461) เมื่อสงครามสิ้นสุดจึงได้ยศ[[สิบตรี]] (ส.ต.) เคยเป็นนักเรียนวิชากฎหมายในประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยราชการสถานทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตำแหน่งเลขานุการเอกอัครราชทูต
เมื่อายุได้ 7 ปี ได้ย้ายมาอยู่กรุงเทพมหานคร และเข้าศึกษาที่[[โรงเรียนบพิตรพิมุข]] [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] [[โรงเรียนราชวิทยาลัย]] [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] (อสช 2654) และ[[โรงเรียนกฎหมาย]] ตามลำดับ ได้เข้าร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457-พ.ศ. 2461) เมื่อสงครามสิ้นสุดจึงได้ยศ[[สิบตรี]] (ส.ต.) เคยเป็นนักเรียนวิชากฎหมายในประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยราชการสถานทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตำแหน่งเลขานุการเอกอัครราชทูต


นายจรูญได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร เพื่อร่วมใน[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] จากการชักชวนของนาย[[ปรีดี พนมยงค์]] นักเรียนวิชากฎหมาย ทุนกระทรวงยุติธรรมเช่นเดียวกัน จัดเป็นคณะราษฎรชุดแรกที่มีการก่อตัวขึ้น 7 คน และถือเป็นเพียงคนเดียวที่มิได้มีสถานภาพเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา อีกทั้งเมื่อสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ศึกษาจบแล้ว ก็ได้เดินทางกลับสู่ประเทศสยาม แต่นายจรูญไม่ได้กลับมาด้วย<ref>''สองฝั่งประชาธิปไตย'', "2475". สารคดีทางไทยพีบีเอส: 26 กรกฎาคม 2555</ref> <ref>[http://www.reurnthai.com/index.php?topic=3363.195;wap2 ชะตากรรมของพระยาทรงสุรเดช หนึ่งในสี่ทหารเสือคณะราษฎร์]</ref>
นายจรูญได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร เพื่อร่วมใน[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] จากการชักชวนของนาย[[ปรีดี พนมยงค์]] นักเรียนวิชากฎหมาย ทุนกระทรวงยุติธรรมเช่นเดียวกัน จัดเป็นคณะราษฎรชุดแรกที่มีการก่อตัวขึ้น 7 คน และถือเป็นเพียงคนเดียวที่มิได้มีสถานภาพเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา อีกทั้งเมื่อสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ศึกษาจบแล้ว ก็ได้เดินทางกลับสู่ประเทศสยาม แต่นายจรูญไม่ได้กลับมาด้วย<ref>''สองฝั่งประชาธิปไตย'', "2475". สารคดีทางไทยพีบีเอส: 26 กรกฎาคม 2555</ref> <ref>[http://www.reurnthai.com/index.php?topic=3363.195;wap2 ชะตากรรมของพระยาทรงสุรเดช หนึ่งในสี่ทหารเสือคณะราษฎร์]</ref>
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
[[หมวดหมู่:นักการทูตชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการทูตชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนอัสสัมชัญ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ป.ม.]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:37, 6 ตุลาคม 2558

อำมาตย์ตรี หลวงสิริราชไมตรี อดีตอัครราชทูตไทยประจำกรุงโรม ประเทศอิตาลี และสมาชิกคณะราษฎร

ประวัติ

หลวงสิริราชไมตรี มีนามเดิมว่า จรูญ สิงหเสนี เกิดที่จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2441 เป็นบุตรคนที่ 3 ของพระยาประเสริฐสุนทราศรัย (กระจ่าง สิงหเสนี) กับคุณหญิงตุ่ม (บุตรสาวของนายเดช-นางใย สิงหเสนี)

เมื่อายุได้ 7 ปี ได้ย้ายมาอยู่กรุงเทพมหานคร และเข้าศึกษาที่โรงเรียนบพิตรพิมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนราชวิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญ (อสช 2654) และโรงเรียนกฎหมาย ตามลำดับ ได้เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2457-พ.ศ. 2461) เมื่อสงครามสิ้นสุดจึงได้ยศสิบตรี (ส.ต.) เคยเป็นนักเรียนวิชากฎหมายในประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยราชการสถานทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตำแหน่งเลขานุการเอกอัครราชทูต

นายจรูญได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร เพื่อร่วมในการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากการชักชวนของนายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนวิชากฎหมาย ทุนกระทรวงยุติธรรมเช่นเดียวกัน จัดเป็นคณะราษฎรชุดแรกที่มีการก่อตัวขึ้น 7 คน และถือเป็นเพียงคนเดียวที่มิได้มีสถานภาพเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา อีกทั้งเมื่อสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ศึกษาจบแล้ว ก็ได้เดินทางกลับสู่ประเทศสยาม แต่นายจรูญไม่ได้กลับมาด้วย[1] [2]

เมื่อเดินทางกลับมายังประเทศสยาม ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้มีบรรดาศักดิ์และราชทินนามเป็น หลวงสิริราชไมตรี

ต่อมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองสำเร็จแล้ว หลวงศิริราชไมตรีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีที่ไม่ได้สังกัดกระทรวง (รัฐมนตรีลอย) และต่อมาได้เป็นราชเลขานุการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) ด้วย

ครอบครัว

หลวงสิริราชไมตรี สมรสกับคุณหญิงอนงค์ (บุตรีพระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) กับนางน้อม) มีบุตรด้วยกัน 5 คน ดังนี้

  1. นายอุดมพร สิงหเสนี
  2. นายพสุพร สิงหเสนี
  3. นายสิงพร สิงหเสนี
  4. นางสาวพรพงา สิงหเสนี
  5. นางสาวพรระพี สิงหเสนี

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. สองฝั่งประชาธิปไตย, "2475". สารคดีทางไทยพีบีเอส: 26 กรกฎาคม 2555
  2. ชะตากรรมของพระยาทรงสุรเดช หนึ่งในสี่ทหารเสือคณะราษฎร์
  3. , แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม 58, ตอน 0 ง, 18 กันยายน พ.ศ. 2484, หน้า 3160