ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยิกาเธอ กรมพระยาสุดารัตน์ราชประยูร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Azza11111 (คุย | ส่วนร่วม)
พระองค์เจ้าราชธิดาในรัชกาลทรงกรมพระยาและเป็นพระอภิบาลรัชกาลที่ห้าทรงรักเสมอพระราชชนนี
Bongsevm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงออกพระนามว่า '''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร''' <ref>จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stcolumnid=1460&stissueid=2486&stcolcatid=2&stauthorid=13 เล่าเรื่องมอญ], สกุลไทย, ฉบับที่ 2486, ปีที่ 48, 11 มิถุนายน 2545</ref>
ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงออกพระนามว่า '''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร''' <ref>จุลลดา ภักดีภูมินทร์, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stcolumnid=1460&stissueid=2486&stcolcatid=2&stauthorid=13 เล่าเรื่องมอญ], สกุลไทย, ฉบับที่ 2486, ปีที่ 48, 11 มิถุนายน 2545</ref>


== พระเกียรติยศ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==

=== พระอิสริยยศ ===
* ''พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าละม่อม'' (8 ธันวาคม พ.ศ. 2361 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394)
* ''พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม'' (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411)
* ''พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมพระสุดารัตนราชประยูร (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 - พ.ศ.2416)
* ''พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร'' (พ.ศ.2416 - 25 สิงหาคม 2440)
* ''พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร'' (25 สิงหาคม 2440 - ) เฉลิมพระเกียรติยศ เสมอด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี พระราชทานพระสัปตปฏลเศวตฉัตรกางกั้งเหนือพระโกศ และการสิ้นพระชนม์ ให้เรียกว่า '''เสด็จสวรรคต'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/022/225.PDF สถาปนาในการเฉลิมพระเกียรติยศ], เล่ม ๑๓, ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๐, หน้า ๒๒๕ </ref>
* ''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร'' ( - ปัจจุบัน)

=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ===
* [[ไฟล์:Order of the Royal House of Chakri (Thailand) ribbon.JPG|80px]] [[เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์]] (ม.จ.ก.)
* [[ไฟล์:Order of the Royal House of Chakri (Thailand) ribbon.JPG|80px]] [[เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์]] (ม.จ.ก.)
* [[ไฟล์:Order of Chula Chom Klao - 1st Class (Thailand) ribbon.png|80px]] เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น[[ปฐมจุลจอมเกล้า]] (ป.จ.)
* [[ไฟล์:Order of Chula Chom Klao - 1st Class (Thailand) ribbon.png|80px]] เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้น[[ปฐมจุลจอมเกล้า]] (ป.จ.)


== กรมขอเฝ้า ==
=== กรมขอเฝ้า ===
* ''เจ้ากรม'' : พระสุดารัตน์ราชประยูร
* ''เจ้ากรม'' : พระสุดารัตน์ราชประยูร
* ''ปลัดกรม''
* ''ปลัดกรม''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:09, 4 ตุลาคม 2558

สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยิกาเธอ กรมพระยาสุดารัตน์ราชประยูร

พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น 3
ประสูติ8 ธันวาคม พ.ศ. 2361
สวรรคต17 สิงหาคม พ.ศ. 2439
พระนามเต็ม
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมารดาเจ้าจอมมารดาทรัพย์

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร หรือ พระองค์เจ้าละม่อม (8 ธันวาคม พ.ศ. 2361 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2439) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทรัพย์ เมื่อวันอังคาร ขึ้น 11 ค่ำ เดือนอ้าย ปีขาล ตรงกับวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2361 [1]

พระองค์เจ้าละม่อมเป็นพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกับ สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ ซึ่งเป็นพระบิดาของสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี พระองค์เจ้าละม่อมจึงทรงมีศักดิ์เป็นเสด็จอาของสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงพระอิสสริยยศเป็น สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ มีพระชนมายุได้ 8 พรรษา สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีได้เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2404 พระองค์เจ้าละม่อมก็ได้ทรงเลี้ยงดูพระองค์ พร้อมด้วยพระขนิษฐา และพระอนุชา ทุกพระองค์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเคารพพระองค์เจ้าละม่อม และยกย่องเสมอพระราชชนนี ทรงออกพระนามว่า เสด็จยาย และโปรดให้พระราชโอรสพระธิดาออกพระนามว่า ทูลหม่อมย่า ทรงสถาปนาพระองค์เจ้าละม่อมเป็น พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ กรมพระสุดารัตนราชประยูร เมื่อ พ.ศ. 2411 และทรงเลื่อนเป็น พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร มีศักดินาเสมอด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนีเมื่อ พ.ศ. 2416 ชาววังออกพระนามพระองค์ว่า ทูลกระหม่อมแก้ว

พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร เสด็จสวรรคตเมื่อวันจันทร์ ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ปีวอก ตรงกับวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2439 สิริพระชนมายุได้ 77 พรรษา (เนื่องจากพระองค์เจ้าหญิงละม่อมได้รับพระราชทานฉัตร 7 ชั้น ในการนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้คำว่า "สวรรคต" เสมอด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี) [2]

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้บรรจุพระอังคารสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร (พระเจ้าราชวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม ซึ่งทรงอภิบาลเลี้ยงดูพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่พระเยาว์มา ประหนึ่งสมเด็จพระราชชนนี) ใต้ฐานพระธรรมจักร ณ.วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงออกพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร [3]

พระเกียรติยศ

พระอิสริยยศ

  • พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าละม่อม (8 ธันวาคม พ.ศ. 2361 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394)
  • พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม (2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411)
  • พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมพระสุดารัตนราชประยูร (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2411 - พ.ศ.2416)
  • พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร (พ.ศ.2416 - 25 สิงหาคม 2440)
  • พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร (25 สิงหาคม 2440 - ) เฉลิมพระเกียรติยศ เสมอด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี พระราชทานพระสัปตปฏลเศวตฉัตรกางกั้งเหนือพระโกศ และการสิ้นพระชนม์ ให้เรียกว่า เสด็จสวรรคต[4]
  • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร ( - ปัจจุบัน)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

กรมขอเฝ้า

  • เจ้ากรม : พระสุดารัตน์ราชประยูร
  • ปลัดกรม
  • สมุหบาญชี : หลวงพินิจพลากร (ผัด) [5]

อ้างอิง

  1. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  2. ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศในการสถาปนาพระเกียรติยศ พระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ, เล่ม ๑๓, ตอน ๒๒, ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๑๘๙๖, หน้า ๒๒๕
  3. จุลลดา ภักดีภูมินทร์, เล่าเรื่องมอญ, สกุลไทย, ฉบับที่ 2486, ปีที่ 48, 11 มิถุนายน 2545
  4. ราชกิจจานุเบกษา,สถาปนาในการเฉลิมพระเกียรติยศ, เล่ม ๑๓, ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๐, หน้า ๒๒๕
  5. ราชกิจจานุเบกษา,ข่าวตาย, เล่ม ๒๘, ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๙, หน้า ๘๐๘