ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนามาณีกี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
แก้ไขคำให้ตรงเสียงจีนกลาง
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ศาสนามาณีกี'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 186</ref> หรือ '''ศาสนามานี''' หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) เป็น[[ศาสนา]]แบบ[[ไญยนิยม]] (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดใน[[จักรวรรดิเอรานชาหร์]] มี[[พระมานีหัยยา (मानी हय्या)]] เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน
'''ศาสนามาณีกี'''<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 186</ref> หรือ '''ศาสนามานี''' หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) เป็น[[ศาสนา]]แบบ[[ไญยนิยม]] (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดใน[[จักรวรรดิเอรานชาหร์]] มี[[พระมานีหัยยา (मानी हय्या)]] เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน


ศาสนามานี หรือ หม่อหนี่เจียว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) สอนเชิง[[จักรวาลวิทยา]]ว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้าน[[ความดี]]งาม [[จิตวิญญาณ]] และ[[ความสว่าง]] กับ[[ความชั่ว]]ร้าย [[วัตถุ]] และ[[ความมืด]] สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมใน[[เมโสโปเตเมีย]]<ref>Widengren, Geo ''Mesopotamian elements in Manichaeism (King and Saviour II): Studies in Manichaean, Mandaean, and Syrian-gnostic religion'', Lundequistska bokhandeln, 1946.</ref>
ศาสนามานี หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) สอนเชิง[[จักรวาลวิทยา]]ว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้าน[[ความดี]]งาม [[จิตวิญญาณ]] และ[[ความสว่าง]] กับ[[ความชั่ว]]ร้าย [[วัตถุ]] และ[[ความมืด]] สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมใน[[เมโสโปเตเมีย]]<ref>Widengren, Geo ''Mesopotamian elements in Manichaeism (King and Saviour II): Studies in Manichaean, Mandaean, and Syrian-gnostic religion'', Lundequistska bokhandeln, 1946.</ref>


ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้[[ภาษาแอราเมอิก]]และซิเรียก<ref name="BeDuhnMirecki2007">{{cite book|author1=Jason BeDuhn|author2=Paul Allan Mirecki|title=Frontiers of Faith: The Christian Encounter With Manichaeism in the Acts of Archelaus|url=http://books.google.com/books?id=JQd8b5s5QBUC&pg=PA6|accessdate=27 August 2012|year=2007|publisher=BRILL|isbn=978-90-04-16180-1|pages=6–}}</ref>ราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึง[[ประเทศจีน]] และทางตะวันตกไกลถึง[[จักรวรรดิโรมัน]]<ref>Andrew Welburn, ''Mani, the Angel and the Column of Glory: An Anthology of Manichaean Texts'' (Edinburgh: Floris Books, 1998), p. 68</ref> โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของ[[ศาสนาคริสต์]] แทน[[ลัทธิเพกัน]]ที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยโดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน<ref>[[Jason BeDuhn|Jason David BeDuhn]] ''The Manichaean Body: In Discipline and Ritual'' Baltimore: Johns Hopkins University Press. 2000 republished 2002 p.IX</ref>
ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้[[ภาษาแอราเมอิก]]และซิเรียก<ref name="BeDuhnMirecki2007">{{cite book|author1=Jason BeDuhn|author2=Paul Allan Mirecki|title=Frontiers of Faith: The Christian Encounter With Manichaeism in the Acts of Archelaus|url=http://books.google.com/books?id=JQd8b5s5QBUC&pg=PA6|accessdate=27 August 2012|year=2007|publisher=BRILL|isbn=978-90-04-16180-1|pages=6–}}</ref>ราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึง[[ประเทศจีน]] และทางตะวันตกไกลถึง[[จักรวรรดิโรมัน]]<ref>Andrew Welburn, ''Mani, the Angel and the Column of Glory: An Anthology of Manichaean Texts'' (Edinburgh: Floris Books, 1998), p. 68</ref> โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของ[[ศาสนาคริสต์]] แทน[[ลัทธิเพกัน]]ที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยโดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน<ref>[[Jason BeDuhn|Jason David BeDuhn]] ''The Manichaean Body: In Discipline and Ritual'' Baltimore: Johns Hopkins University Press. 2000 republished 2002 p.IX</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:28, 1 ตุลาคม 2558

ศาสนามาณีกี[1] หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) เป็นศาสนาแบบไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิเอรานชาหร์ มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน

ศาสนามานี หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย[2]

ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและซิเรียก[3]ราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน[4] โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยโดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน[5]

ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่าชาวมานีหรือชาวมานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันคำว่ามานีเชียนได้ใช้หมายรวมถึงผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 186
  2. Widengren, Geo Mesopotamian elements in Manichaeism (King and Saviour II): Studies in Manichaean, Mandaean, and Syrian-gnostic religion, Lundequistska bokhandeln, 1946.
  3. Jason BeDuhn; Paul Allan Mirecki (2007). Frontiers of Faith: The Christian Encounter With Manichaeism in the Acts of Archelaus. BRILL. pp. 6–. ISBN 978-90-04-16180-1. สืบค้นเมื่อ 27 August 2012.
  4. Andrew Welburn, Mani, the Angel and the Column of Glory: An Anthology of Manichaean Texts (Edinburgh: Floris Books, 1998), p. 68
  5. Jason David BeDuhn The Manichaean Body: In Discipline and Ritual Baltimore: Johns Hopkins University Press. 2000 republished 2002 p.IX