ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์"

พิกัด: 13°45′41″N 100°33′58″E / 13.761486°N 100.566016°E / 13.761486; 100.566016
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎พ.ศ. 2558: Change date
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล โรงละคร
| ชื่อ = เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์
| รูปภาพ = [[ไฟล์:เมืองไทยรัชดาลัย_เธียร์เตอร์.jpg|250px]]
| คำบรรยายภาพ = ภาพทางขึ้นโรงละคร
| ชื่อเล่น = รัชดาลัย
| ที่อยู่ = ชั้น 4/6 [[เอสพลานาด รัชดาภิเษก|ศูนย์การค้าเอสพลานาด รัชดาภิเษก]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] แขวงดินแดง [[เขตดินแดง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| ชนิด = โรงละครในร่ม
| ประเภท =
| สร้าง =
| วันที่เปิด = [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]
| ปรับปรุงใหม่ =
| ขยาย =
| วันที่ปิด =
| รื้อถอน =
| เจ้าของ = [[ซีเนริโอ|บริษัท ซีเนริโอ จำกัด]] <br> [[ธนาคารไทยพานิชย์|ธนาคารไทยพานิชย์ จำกัด (มหาชน)]] <br> [[เมืองไทยประกันชีวิต|บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด]]
| มูลค่าการก่อสร้าง =
| ชื่อก่อนหน้านี้ =
| ชนิดที่นั่ง =
| ความจุ = 1,524 ที่นั่ง
| เว็บไซต์ = [http://www.scenario.co.th/rachadalai/ เว็บไซต์เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์]
}}
'''เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์''' ({{lang-en|Muangthai Rachadalai Theatre}}) เป็น[[โรงละคร]]สำหรับแสดง[[ละครเวที]] ตั้งอยู่บริเวณชั้น 4 และ 6 [[เอสพลานาด รัชดาภิเษก|ศูนย์การค้าเอสพลานาด รัชดาภิเษก]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] [[กรุงเทพมหานคร]] นับว่าเป็นโรงละครเอกชนที่มีจำนวนที่นั่งมากที่สุดเป็น[[อันดับ 1 ของประเทศไทย]]
'''เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์''' ({{lang-en|Muangthai Rachadalai Theatre}}) เป็น[[โรงละคร]]สำหรับแสดง[[ละครเวที]] ตั้งอยู่บริเวณชั้น 4 และ 6 [[เอสพลานาด รัชดาภิเษก|ศูนย์การค้าเอสพลานาด รัชดาภิเษก]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] [[กรุงเทพมหานคร]] นับว่าเป็นโรงละครเอกชนที่มีจำนวนที่นั่งมากที่สุดเป็น[[อันดับ 1 ของประเทศไทย]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ เป็นโรงละครที่สร้างขึ้นโดยการร่วมทุนของ[[ซีเนริโอ|บริษัท ซีเนริโอ จำกัด]] [[ธนาคารไทยพาณิชย์|ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)]] และ [[เมืองไทยประกันชีวิต|บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด]] โดย[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ]] และ [[พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ]] ทรงเปิดโรงละคร และทอดพระเนตรละครเวที ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล รอบปฐมทัศน์ เมื่อวันที่ [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]
เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ เป็นโรงละครที่สร้างขึ้นโดยการร่วมทุนของ[[ซีเนริโอ|บริษัท ซีเนริโอ จำกัด]] [[ธนาคารไทยพาณิชย์|ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)]] และ [[เมืองไทยประกันชีวิต|บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด]] โดย[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์พร้อมด้วย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ]] และ [[พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ]] ทรงเปิดโรงละคร และทอดพระเนตรละครเวที ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล รอบปฐมทัศน์ เมื่อวันที่ [[23 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]


== การจัดสรรพื้นที่==
== การจัดสรรพื้นที่==
"เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์"มีพื้นที่ใช้สอยภายในรวมทั้งสิ้นประมาณ 6,500 ตร.ม. พื้นที่ทั้งหมดแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ
"เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์"มีพื้นที่ใช้สอยภายในรวมทั้งสิ้นประมาณ 6,500 ตร.ม. พื้นที่ทั้งหมดแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ
* ชั้น 4 จัดสรรเป็นโถงต้อนรับ รัชดาลัยคาเฟ่ ห้องสมุด ห้องรับรอง รวมทั้งจุดบริการของไทยทิคเก็ตเมเจอร์
* ชั้น 4 จัดสรรเป็นโถงต้อนรับ รัชดาลัยคาเฟ่ ห้องสมุด ห้องรับรอง รวมทั้งจุดบริการของไทยทิคเก็ตเมเจอร์
* ชั้น 6 ซึ่งเป็นพื้นที่เหนือลานจอดรถศูนย์การค้า เป็นที่ตั้งของโรงละครแบบโพรซีเนียม ความจุ 1,512 ที่นั่ง รองรับการเปลี่ยนฉากได้ 48 ระดับชั้น การตกแต่งภายในมีการนำความเป็นไทยมาผสมผสานเข้ากับการออกแบบสมัยใหม่ กลายเป็นรูปแบบร่วมสมัยที่มีความเรียบง่ายแต่หรูหราในแบบไทยๆ
* ชั้น 6 ซึ่งเป็นพื้นที่เหนือลานจอดรถศูนย์การค้า เป็นที่ตั้งของโรงละครแบบโพรซีเนียม ความจุ 1,524 ที่นั่ง รองรับการเปลี่ยนฉากได้ 48 ระดับชั้น การตกแต่งภายในมีการนำความเป็นไทยมาผสมผสานเข้ากับการออกแบบสมัยใหม่ กลายเป็นรูปแบบร่วมสมัยที่มีความเรียบง่ายแต่หรูหราในแบบไทยๆ


== ละครเวทีที่เปิดการแสดง ==
== ละครเวทีที่เปิดการแสดง ==
บรรทัด 84: บรรทัด 61:
* มนตร์รัก เพลงสวรรค์ The Sound of Music โดย กัทส์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ แสดงวันที่ 2-26 เมษายน 2558 เปิดแสดง 18 รอบ
* มนตร์รัก เพลงสวรรค์ The Sound of Music โดย กัทส์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ แสดงวันที่ 2-26 เมษายน 2558 เปิดแสดง 18 รอบ
* ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล แสดงวันที่ 30-31 พค 2558
* ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล แสดงวันที่ 30-31 พค 2558
* [[แผ่นดินของเรา (แม่อนงค์)|แผ่นดินของเรา เดอะมิวสิคัล]] แสดงวันที่ 12-28 มิถุนายน 2558 เปิดแสดง 10 รอบ
* [[แผ่นดินของเรา (แม่อนงค์)|แผ่นดินของเรา เดอะมิวสิคัล]] แสดงวันที่ 12-28 มิถุนายน 2558 เปิดกดง 10 รอบ
* วันสละโสดกับโจทก์เก่าๆ เดอะมิวสิคัลคอมเมดี้ แสดงวันที่ 13 สิงหาคม-20 กันยายน 2558
* วันสละโสดกับโจทก์เก่าๆ เดอะมิวสิคัล คอมเมดี้ แสดงวันที่ 13 สิงหาคม-20 กันยายน 2558 เปิดแสดง 35 รอบ


== คอนเสิร์ต ==
== คอนเสิร์ต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:42, 22 กันยายน 2558

เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ (อังกฤษ: Muangthai Rachadalai Theatre) เป็นโรงละครสำหรับแสดงละครเวที ตั้งอยู่บริเวณชั้น 4 และ 6 ศูนย์การค้าเอสพลานาด รัชดาภิเษก ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร นับว่าเป็นโรงละครเอกชนที่มีจำนวนที่นั่งมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย

ประวัติ

เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ เป็นโรงละครที่สร้างขึ้นโดยการร่วมทุนของบริษัท ซีเนริโอ จำกัด ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์พร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ และ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ทรงเปิดโรงละคร และทอดพระเนตรละครเวที ฟ้าจรดทราย เดอะมิวสิคัล รอบปฐมทัศน์ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2550

การจัดสรรพื้นที่

"เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์"มีพื้นที่ใช้สอยภายในรวมทั้งสิ้นประมาณ 6,500 ตร.ม. พื้นที่ทั้งหมดแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ

  • ชั้น 4 จัดสรรเป็นโถงต้อนรับ รัชดาลัยคาเฟ่ ห้องสมุด ห้องรับรอง รวมทั้งจุดบริการของไทยทิคเก็ตเมเจอร์
  • ชั้น 6 ซึ่งเป็นพื้นที่เหนือลานจอดรถศูนย์การค้า เป็นที่ตั้งของโรงละครแบบโพรซีเนียม ความจุ 1,524 ที่นั่ง รองรับการเปลี่ยนฉากได้ 48 ระดับชั้น การตกแต่งภายในมีการนำความเป็นไทยมาผสมผสานเข้ากับการออกแบบสมัยใหม่ กลายเป็นรูปแบบร่วมสมัยที่มีความเรียบง่ายแต่หรูหราในแบบไทยๆ

ละครเวทีที่เปิดการแสดง

พ.ศ. 2550

พ.ศ. 2551

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

  • บิวตี้ แอนด์ เดอะ บีสต์ เดอะมิวสิคัล โดย บีอีซี-เทโร ซีเนริโอ ร่วมกับ ดิสนีย์ เธียทริคอล โปรดักชั่นส์ เน็ตเวิร์กส์ และ บรอดเวย์ เอ็นเตอร์เทนเมนต์ กรุ๊ป 24 กุมภาพันธ์-15 มีนาคม 2558 เปิดแสดง 24 รอบ
  • มนตร์รัก เพลงสวรรค์ The Sound of Music โดย กัทส์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ แสดงวันที่ 2-26 เมษายน 2558 เปิดแสดง 18 รอบ
  • ซูสีไทเฮา เดอะมิวสิคัล แสดงวันที่ 30-31 พค 2558
  • แผ่นดินของเรา เดอะมิวสิคัล แสดงวันที่ 12-28 มิถุนายน 2558 เปิดกดง 10 รอบ
  • วันสละโสดกับโจทก์เก่าๆ เดอะมิวสิคัล คอมเมดี้ แสดงวันที่ 13 สิงหาคม-20 กันยายน 2558 เปิดแสดง 35 รอบ

คอนเสิร์ต

  • 3 หนุ่ม 3 ไมค์ 2008 3-5 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เปิดการแสดง 5 รอบ
  • VieTrio Live in Concert 10 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เปิดการแสดง 1 รอบ
  • The Singer Concert : MINT MALEEWAN 29-30 พฤศจิกายน พ.ศ 2551 เปิดการแสดง 2 รอบ
  • The Singer Concert : AOF PONGSAK 29-30 พฤศจิกายน พ.ศ 2551 เปิดการแสดง 2 รอบ
  • Boy Story Concert 30-31 ตุลาคม พ.ศ 2553 เปิดการแสดง 3 รอบ
  • 4 โพดำ คอนเสิร์ต Concert in The Theatre 12-14,20-21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เปิดการแสดง 6 รอบ

การแสดงในอนาคต

งานอื่นๆ

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′41″N 100°33′58″E / 13.761486°N 100.566016°E / 13.761486; 100.566016