ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาฉลามมาโก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{taxobox | image = Kurzflossen-Mako.jpg | image_width = 240px | image_caption = Shortfin mako shark|ปลาฉลามมาโก...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
'''ปลาฉลามมาโก''' ({{lang-en|Mako shark}}) ปลากระดูกอ่อนจำพวก[[ปลาฉลาม]]ในสกุล ''Isurus'' (/อิ-ซัว-รัส/) ในวงศ์ [[Lamnidae]] อันเป็นวงศ์เดียวกับ[[ปลาฉลามขาว]] ซึ่งเป็นปลากินเนื้อและสัตว์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน
'''ปลาฉลามมาโก''' ({{lang-en|Mako shark}}) ปลากระดูกอ่อนจำพวก[[ปลาฉลาม]]ในสกุล ''Isurus'' (/อิ-ซัว-รัส/) ในวงศ์ [[Lamnidae]] อันเป็นวงศ์เดียวกับ[[ปลาฉลามขาว]] ซึ่งเป็นปลากินเนื้อและสัตว์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน


ปลาฉลามมาโก จัดเป็นปลาฉลามที่มีความปราดเปรียวว่องไว เป็นปลาฉลามที่ว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลก โดยทำความเร็วได้ถึง 50-70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้เป็นผลมาจากครีบหางที่เว้าเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวขนาดใหญ่ อีกทั้งยังสามารถกระโดดได้พ้นน้ำได้สูงถึง 9 เมตรอีกด้วย เป็นปลาที่มีดวงตากลมโตสีดำสนิท ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวนมากจนล้นออกนอกปาก จัดเป็นปลาฉลามอีกจำพวกหนึ่งที่ทำอันตรายมนุษย์ได้<ref>{{cite web|url=http://www.komchadluek.net/detail/20120729/136368.html|title=ตะลึง!ฉลามโดดตีลังกากลับหลัง9รอบ!! |date=29 July 2012|accessdate=20 September 2015|publisher=คมชัดลึก}}</ref><ref>''Deadly Pole to Pole'', สารคดีทางช่อง 7: วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558</ref>
ปลาฉลามมาโก จัดเป็นปลาฉลามที่มีความปราดเปรียวว่องไว เป็นปลาฉลามที่ว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลก โดยทำความเร็วได้ถึง 50-70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้เป็นผลมาจากครีบหางที่เว้าเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวขนาดใหญ่ อีกทั้งยังสามารถกระโดดได้พ้นน้ำได้สูงถึง 9 เมตรอีกด้วย เป็นปลาที่มีดวงตากลมโตสีดำสนิท ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวนมากจนล้นออกนอกปาก จัดเป็นปลาฉลามอีกจำพวกหนึ่งที่ทำอันตรายมนุษย์ได้<ref>{{cite web|url=http://www.komchadluek.net/detail/20120729/136368.html|title=ตะลึง!ฉลามโดดตีลังกากลับหลัง9รอบ!! |date=29 July 2012|accessdate=20 September 2015|publisher=คมชัดลึก}}</ref><ref>''ภารกิจซ่า ท้าตาย (Deadly Pole to Pole) ตอนที่ 8'', สารคดีทางช่อง 7: วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558</ref>


เป็นปลาที่ถือกำเนิดมาจากตั้งแต่ยุค[[ครีเตเชียส]]จนถึง[[Quaternary|ควอเทอนารี]] (ประมาณ: 99.7 ถึง 0.781 ล้านปีก่อน<ref name=AA>[http://fossilworks.org/?a=taxonInfo&taxon_no=34613 Fossilworks]</ref>)
เป็นปลาที่ถือกำเนิดมาจากตั้งแต่ยุค[[ครีเตเชียส]]จนถึง[[Quaternary|ควอเทอนารี]] (ประมาณ: 99.7 ถึง 0.781 ล้านปีก่อน<ref name=AA>[http://fossilworks.org/?a=taxonInfo&taxon_no=34613 Fossilworks]</ref>)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:29, 20 กันยายน 2558

ปลาฉลามมาโก
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ครีเตเชียส - ปัจจุบัน [1][2]
ปลาฉลามมาโกครีบสั้น (I. oxyrinchus)
ปลาฉลามมาโกครีบยาว (I. paucus)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
ชั้นย่อย: Elasmobranchii
อันดับใหญ่: Selachimorpha
อันดับ: Lamniformes
วงศ์: Lamnidae
สกุล: Isurus
Rafinesque, 1810
ชนิดต้นแบบ
Isurus oxyrinchus
Rafinesque, 1810
ชื่อพ้อง
  • Isuropsis Gill, 1862
  • Lamiostoma Glikman, 1964
  • Oxyrhina Agassiz, 1838
  • Oxyrrhina Bonaparte, 1846
  • Plectrostoma Gistel, 1848

ปลาฉลามมาโก (อังกฤษ: Mako shark) ปลากระดูกอ่อนจำพวกปลาฉลามในสกุล Isurus (/อิ-ซัว-รัส/) ในวงศ์ Lamnidae อันเป็นวงศ์เดียวกับปลาฉลามขาว ซึ่งเป็นปลากินเนื้อและสัตว์กินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน

ปลาฉลามมาโก จัดเป็นปลาฉลามที่มีความปราดเปรียวว่องไว เป็นปลาฉลามที่ว่ายน้ำได้เร็วที่สุดในโลก โดยทำความเร็วได้ถึง 50-70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทั้งนี้เป็นผลมาจากครีบหางที่เว้าเป็นรูปพระจันทร์เสี้ยวขนาดใหญ่ อีกทั้งยังสามารถกระโดดได้พ้นน้ำได้สูงถึง 9 เมตรอีกด้วย เป็นปลาที่มีดวงตากลมโตสีดำสนิท ภายในปากมีฟันแหลมคมจำนวนมากจนล้นออกนอกปาก จัดเป็นปลาฉลามอีกจำพวกหนึ่งที่ทำอันตรายมนุษย์ได้[3][4]

เป็นปลาที่ถือกำเนิดมาจากตั้งแต่ยุคครีเตเชียสจนถึงควอเทอนารี (ประมาณ: 99.7 ถึง 0.781 ล้านปีก่อน[1])

จำแนกออกได้เป็น 2 ชนิด ที่ยังคงสืบทอดเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน มีความยาวประมาณ 2.5 ถึง 4.5 เมตร (8.2 ถึง 14.8 ฟุต) และน้ำหนักมากที่สุดถึง 800 กิโลกรัม (1,800 ปอนด์)

โดยคำว่า "มาโก" มาจากภาษามาวรี หมายถึง ปลาฉลามหรือฟันปลาฉลาม[5]

การจำแนก

ฟอสซิลฟันของปลาฉลามมาโกชนิด I. hastalis

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Fossilworks
  2. Sepkoski, Jack (2002). "A compendium of fossil marine animal genera (Chondrichthyes entry)". Bulletins of American Paleontology. 364: 560.
  3. "ตะลึง!ฉลามโดดตีลังกากลับหลัง9รอบ!!". คมชัดลึก. 29 July 2012. สืบค้นเมื่อ 20 September 2015.
  4. ภารกิจซ่า ท้าตาย (Deadly Pole to Pole) ตอนที่ 8, สารคดีทางช่อง 7: วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558
  5. "Maori language – a glossary of useful words from the language of the Maori New Zealand". สืบค้นเมื่อ 2006-08-11.
  6. Smith, J.L.B. Sharks of the Genus Isurus Rafinesque, 1810. Ichthyological Bulletin; No. 6. Department of Ichthyology, Rhodes University, Grahamstown, South Africa
  7. Tony Ayling & Geoffrey Cox, Collins Guide to the Sea Fishes of New Zealand, William Collins Publishers Ltd, Auckland, New Zealand 1982 ISBN 0-00-216987-8
  8. Isurus hastalis on Fossilworks

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Isurus ที่วิกิสปีชีส์