ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tongacerz3 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| อธิการบดี =
| อธิการบดี =
| เพลง =
| เพลง =
| ต้นไม้ = ต้นมะหาด
| ต้นไม้ =
| ดอกไม้ = ดอกตะแบก
| ดอกไม้ =
| สี = ม่วงขาว
| สี =
| ที่ตั้ง =
| ที่ตั้ง =
| เว็บไซต์ = [http://www.ksu.ac.th/ www.ksu.ac.th]
| เว็บไซต์ = [http://www.ksu.ac.th/ www.ksu.ac.th]
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
'''มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์''' ({{lang-en|Kalasin University}}) คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
'''มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์''' ({{lang-en|Kalasin University}}) คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ


ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์เป็นประจำทุกปี ณ หอประชุมมหาวชิราลงกรณ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]]<ref>[http://congratulations.snru.ac.th/components/contents/view.php?id=42 พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:13, 9 กันยายน 2558

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ไฟล์:มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.png
คติพจน์ภูมิความรู้สร้างคุณค่า ภูมิปัญญาสร้างสังคม
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
สถาปนา9 กันยายน พ.ศ. 2558
เว็บไซต์www.ksu.ac.th

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ (อังกฤษ: Kalasin University) คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ


ประวัติ

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ จัดตั้งขึ้นตาม "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2558" [1] เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 โดยเกิดจากการควบรวมมหาวิทยาลัยในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2 แห่งคือ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์เข้าด้วยกัน

การควบรวมมหาวิทยาลัย

ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. ... ซึ่งจะเป็นการควบรวมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์เข้าด้วยกัน[2][3] เป็นมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ โดยการผลักดันของนายเดชา ตันติยวรงค์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ และนางบุญรื่น ศรีธเรศ อดีต ส.ส.กาฬสินธุ์ เขต 1 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท อดีต ส.ส.บัญชีรายชื่อพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีทั้งกลุ่มผู้เห็นด้วยและกลุ่มผู้คัดค้าน โดยให้เหตุผลการคัดค้านว่าจะทำให้สถานที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเดิม ถูกทิ้งร้างไป ส่งผลกระทบต่อธุรกิจหอพักที่เกิดขึ้นโดยรอบมหาวิทยาลัย

3 มีนาคม 2558 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. เพื่อลดความซ้ำซ้อนของสถาบันอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเดียวกัน[4]

วันที่ 25 มิถุนายน 2558 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ลงมติในวาระ 3 เห็นชอบให้ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พ.ศ. ... ประกาศใช้เป็นกฎหมายด้วยคะแนน 173-1 เสียง

ในวันที่ 8 กันยายน 2558 ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ พรบ.มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ พศ.2558 แล้ว มีผลให้มหาวิทยาลัยราชภัฎกาฬสินธุ์ สิ้นสุดลง ณ วันถัดไปในประกาศราชกิจจานุเบกษา

คณะ/หลักสูตร

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น