ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาสฺยง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
หนึ่งในเทศบาลพิเศษห้าแห่ง แก้เป็น หกแห่ง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Kaohsiung.jpg|thumb|เกาสฺยง]]
[[ไฟล์:Kaohsiung.jpg|thumb|เกาสฺยง]]


'''เกาสฺยง''' ({{lang-roman|Kaohsiung}}; {{zh|c=高雄|p=Gāoxióng|poj=Ko-hiông}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''เมืองเกาสฺยง''' (Kaohsiung City) เป็นหนึ่งใน[[เทศบาลพิเศษไต้หวัน|เทศบาลพิเศษ]]ห้าแห่งในการปกครอง[[สาธารณรัฐจีน]] ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศตรงข้ามกับ[[ช่องแคบไต้หวัน]] โดยอาณาเขต 2947.62 ตารางกิโลเมตรแล้วจึงนับเป็นเทศบาลที่มีพื้นที่มากที่สุด และโดยจำนวนประชากรราว 2.77 ล้านคนแล้วจึงถือเป็นเมืองซึ่งผู้คนหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับสอง เมืองนี้ตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และนับแต่นั้นนก็เจริญเติบใหญ่จากหมู่บ้านย่านค้าขนาดเล็กขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการปกครอง เศรษฐกิจ การขนส่ง การประดิดประดอย การก่อเรือ และอุตสาหกรรมทาง[[ภาคใต้ไต้หวัน|ภาคใต้]]ตามลำดับ อนึ่ง เมืองนี้ยังใช้ระบบ[[Self-sufficiency|พึ่งพาตนเอง]] (self-sufficiency) ดังที่[[Globalization and World Cities Research Network|เครือข่ายวิจัยโลกาภิวัฒน์และเมืองโลก]] (Globalization and World Cities Research Network) จัดประเภทไว้เมื่อปี 2010<ref>{{cite web|url=http://www.lboro.ac.uk/gawc/world2010t.html |title=The World According to GaWC 2010 |publisher=Lboro.ac.uk |date=2011-09-14 |accessdate=2013-07-27}}</ref>
'''เกาสฺยง''' ({{lang-roman|Kaohsiung}}; {{zh|c=高雄|p=Gāoxióng|poj=Ko-hiông}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''เมืองเกาสฺยง''' (Kaohsiung City) เป็นหนึ่งใน[[เทศบาลพิเศษไต้หวัน|เทศบาลพิเศษ]]หกแห่งในการปกครอง[[สาธารณรัฐจีน]] ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศตรงข้ามกับ[[ช่องแคบไต้หวัน]] โดยอาณาเขต 2947.62 ตารางกิโลเมตรแล้วจึงนับเป็นเทศบาลที่มีพื้นที่มากที่สุด และโดยจำนวนประชากรราว 2.77 ล้านคนแล้วจึงถือเป็นเมืองซึ่งผู้คนหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับสอง เมืองนี้ตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และนับแต่นั้นนก็เจริญเติบใหญ่จากหมู่บ้านย่านค้าขนาดเล็กขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการปกครอง เศรษฐกิจ การขนส่ง การประดิดประดอย การก่อเรือ และอุตสาหกรรมทาง[[ภาคใต้ไต้หวัน|ภาคใต้]]ตามลำดับ อนึ่ง เมืองนี้ยังใช้ระบบ[[Self-sufficiency|พึ่งพาตนเอง]] (self-sufficiency) ดังที่[[Globalization and World Cities Research Network|เครือข่ายวิจัยโลกาภิวัฒน์และเมืองโลก]] (Globalization and World Cities Research Network) จัดประเภทไว้เมื่อปี 2010<ref>{{cite web|url=http://www.lboro.ac.uk/gawc/world2010t.html |title=The World According to GaWC 2010 |publisher=Lboro.ac.uk |date=2011-09-14 |accessdate=2013-07-27}}</ref>


[[ท่าอากาศยานนานาชาติเกาสฺยง]] (Kaohsiung International Airport) รองรับเมืองเกาสฺยงและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับในประเทศ ส่วน[[ท่าเกาสฺยง]] (Port of Kaohsiung) เป็นท่าเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ แต่มิใช่ท่าเรืออย่างเป็นทางการของเมืองนี้ ขณะที่ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของเมืองนั้นเรียก [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเกาสฺยง]] (Kaohsiung Mass Rapid Transit) และเริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2008 เมืองเกาสฺยงยังเป็นที่ตั้งบัณฑิตยสถานและกองบัญชาการ[[กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน]] ทั้งเคยเป็นเจ้าภาพ[[กีฬาโลก 2009]] (2009 World Games) ซึ่งจัดการแข่งขันกีฬาระดับชนิดที่ไม่มีใน[[โอลิมปิกส์]]ด้วย
[[ท่าอากาศยานนานาชาติเกาสฺยง]] (Kaohsiung International Airport) รองรับเมืองเกาสฺยงและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับในประเทศ ส่วน[[ท่าเกาสฺยง]] (Port of Kaohsiung) เป็นท่าเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ แต่มิใช่ท่าเรืออย่างเป็นทางการของเมืองนี้ ขณะที่ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของเมืองนั้นเรียก [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเกาสฺยง]] (Kaohsiung Mass Rapid Transit) และเริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2008 เมืองเกาสฺยงยังเป็นที่ตั้งบัณฑิตยสถานและกองบัญชาการ[[กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน]] ทั้งเคยเป็นเจ้าภาพ[[กีฬาโลก 2009]] (2009 World Games) ซึ่งจัดการแข่งขันกีฬาระดับชนิดที่ไม่มีใน[[โอลิมปิกส์]]ด้วย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:47, 2 กันยายน 2558

เกาสฺยง

เกาสฺยง (อักษรโรมัน: Kaohsiung; จีน: 高雄; พินอิน: Gāoxióng; เป่อ่วยยี: Ko-hiông) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า เมืองเกาสฺยง (Kaohsiung City) เป็นหนึ่งในเทศบาลพิเศษหกแห่งในการปกครองสาธารณรัฐจีน ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศตรงข้ามกับช่องแคบไต้หวัน โดยอาณาเขต 2947.62 ตารางกิโลเมตรแล้วจึงนับเป็นเทศบาลที่มีพื้นที่มากที่สุด และโดยจำนวนประชากรราว 2.77 ล้านคนแล้วจึงถือเป็นเมืองซึ่งผู้คนหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับสอง เมืองนี้ตั้งขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 และนับแต่นั้นนก็เจริญเติบใหญ่จากหมู่บ้านย่านค้าขนาดเล็กขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการปกครอง เศรษฐกิจ การขนส่ง การประดิดประดอย การก่อเรือ และอุตสาหกรรมทางภาคใต้ตามลำดับ อนึ่ง เมืองนี้ยังใช้ระบบพึ่งพาตนเอง (self-sufficiency) ดังที่เครือข่ายวิจัยโลกาภิวัฒน์และเมืองโลก (Globalization and World Cities Research Network) จัดประเภทไว้เมื่อปี 2010[1]

ท่าอากาศยานนานาชาติเกาสฺยง (Kaohsiung International Airport) รองรับเมืองเกาสฺยงและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับในประเทศ ส่วนท่าเกาสฺยง (Port of Kaohsiung) เป็นท่าเรือขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ แต่มิใช่ท่าเรืออย่างเป็นทางการของเมืองนี้ ขณะที่ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินของเมืองนั้นเรียก การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนเกาสฺยง (Kaohsiung Mass Rapid Transit) และเริ่มให้บริการเมื่อต้นปี 2008 เมืองเกาสฺยงยังเป็นที่ตั้งบัณฑิตยสถานและกองบัญชาการกองทัพเรือสาธารณรัฐจีน ทั้งเคยเป็นเจ้าภาพกีฬาโลก 2009 (2009 World Games) ซึ่งจัดการแข่งขันกีฬาระดับชนิดที่ไม่มีในโอลิมปิกส์ด้วย

อ้างอิง

  1. "The World According to GaWC 2010". Lboro.ac.uk. 2011-09-14. สืบค้นเมื่อ 2013-07-27.