ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มารีโอ ตามัญโญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ymmlap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:tamanyo.jpg|left]]นายมาริโอ ตามานโญ (Mr.Mario Tamagno) เป็นสถาปนิกชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2420 เข้ารับราชการในกระทรวงโยธาธิการแห่งประเทศสยามเมื่อปี พ.ศ.2443 โดยมีสัญญาว่าจ้างเป็นเวลา 25 ปี
[[ภาพ:tamanyo.jpg|left]]'''นายมาริโอ ตามานโญ (Mr.Mario Tamagno)''' เป็น[[สถาปนิก]]ชาว[[อิตาเลียน]] เกิดที่เมือง[[ตูริน]] [[ประเทศอิตาลี]] เมื่อวันที่ [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2420]] เข้ารับราชการใน[[กระทรวงโยธาธิการ]]แห่งประเทศสยามเมื่อปี [[พ.ศ. 2443]] โดยมีสัญญาว่าจ้างเป็นเวลา 25 ปี


นายมาริโอ ตามานโญ มีผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่สำคัญหลายแห่ง เช่น สะพานมัฆวานรังสรรค์ พระที่นั่งอนันตสมาคม วังปารุสกวัน ท้องพระโรงวังสวนกุหลาบ สถานีรถไฟหัวลำโพง บ้านพิษณุโลก(ชื่อเดิมคือ บ้านบรรทมสินธุ์)พระตำหนักเมขลารุจี ตึกไทยคู่ฟ้าทำเนียบรัฐบาล(เดิมชื่อคือ ตึกไกรสร)ห้องสมุดนีลเซนเฮส์ เป็นต้น
นายมาริโอ ตามานโญ มีผลงานออกแบบ[[สถาปัตยกรรม]]ใน[[ประเทศไทย]]ที่สำคัญหลายแห่ง เช่น [[สะพานมัฆวานรังสรรค์]] [[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] [[วังปารุสกวัน]] ท้องพระโรง[[วังสวนกุหลาบ]] [[สถานีรถไฟหัวลำโพง]] [[บ้านพิษณุโลก]](ชื่อเดิมคือ บ้านบรรทมสินธุ์)[[พระตำหนักเมขลารุจี]] [[ตึกไทยคู่ฟ้าทำเนียบรัฐบาล]](เดิมชื่อคือ ตึกไกรสร)[[ห้องสมุดนีลเซนเฮส์]] เป็นต้น

{{เกิดปี|2420}}
{{โครงชีวประวัติ}}
[[หมวดหมู่:ชาวต่างชาติในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:สถาปนิก]]
[[หมวดหมู่:ชาวอิตาเลียน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:56, 24 มิถุนายน 2550

ไฟล์:Tamanyo.jpg

นายมาริโอ ตามานโญ (Mr.Mario Tamagno) เป็นสถาปนิกชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2420 เข้ารับราชการในกระทรวงโยธาธิการแห่งประเทศสยามเมื่อปี พ.ศ. 2443 โดยมีสัญญาว่าจ้างเป็นเวลา 25 ปี

นายมาริโอ ตามานโญ มีผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่สำคัญหลายแห่ง เช่น สะพานมัฆวานรังสรรค์ พระที่นั่งอนันตสมาคม วังปารุสกวัน ท้องพระโรงวังสวนกุหลาบ สถานีรถไฟหัวลำโพง บ้านพิษณุโลก(ชื่อเดิมคือ บ้านบรรทมสินธุ์)พระตำหนักเมขลารุจี ตึกไทยคู่ฟ้าทำเนียบรัฐบาล(เดิมชื่อคือ ตึกไกรสร)ห้องสมุดนีลเซนเฮส์ เป็นต้น