ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26: บรรทัด 26:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา เป็นบุตรของพันโท พระขยันสรกรณ์ (ประยูร เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) กับนางชุบ (สกุลเดิม:จารุจินดา) มีพี่น้อง 8 คน สมรสกับนางลมุน คงสมบูรณ์<ref>[http://www.charuchinda.com/Residence/Jarujinda~Residence1.html ชมรมสายสกุลจรุจินดา]</ref>
พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา 7 มกราคม พ.ศ.2442 เป็นบุตรของพันโท พระขยันสรกรณ์ (ประยูร เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) กับนางชุบ (สกุลเดิม:จารุจินดา) มีพี่น้อง 8 คน สมรสกับนางลมุน คงสมบูรณ์<ref>[http://www.charuchinda.com/Residence/Jarujinda~Residence1.html ชมรมสายสกุลจรุจินดา]</ref>


จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่[[โรงเรียนวัดราชบพิธ]] แล้วจึงเข้าศึกษาต่อจนจบระดับอุดมศึกษาที่[[โรงเรียนนายร้อยทหารบก]] และจบหลักสูตร[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]]รุ่นที่ 3 พลเอก ทวิช รับราชการใน[[กองทัพบก]] เคยดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ เช่น ผู้บังคับบัญชากองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน<ref>[http://www.rta.mi.th/aaad/about/directory/directory.htm ผู้บังคับบัญชา กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ในอดีต]</ref> ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 13<ref>[http://www.mtb13.com/portfolio_main/page_old_comm.html อดีตผู้บังคับหน่วย - มณฑลทหารบกที่ ๑๓]</ref> เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก เป็นต้น รับราชการมียศสูงสุดที่ พลเอก
จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่[[โรงเรียนวัดราชบพิธ]] แล้วจึงเข้าศึกษาต่อจนจบระดับอุดมศึกษาที่[[โรงเรียนนายร้อยทหารบก]] และจบหลักสูตร[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]]รุ่นที่ 3 พลเอก ทวิช รับราชการใน[[กองทัพบก]] เคยดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ เช่น ผู้บังคับบัญชากองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน<ref>[http://www.rta.mi.th/aaad/about/directory/directory.htm ผู้บังคับบัญชา กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ในอดีต]</ref> ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 13<ref>[http://www.mtb13.com/portfolio_main/page_old_comm.html อดีตผู้บังคับหน่วย - มณฑลทหารบกที่ ๑๓]</ref> เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก เป็นต้น รับราชการมียศสูงสุดที่ พลเอก

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:57, 4 สิงหาคม 2558

พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
ไฟล์:Thawit Seneewong Na Ayuthaya.jpg
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2518
ก่อนหน้าพลเอก ครวญ สุทธานินทร์
ถัดไปพลตรี ประมาณ อดิเรกสาร
ดำรงตำแหน่ง
28 เมษายน พ.ศ. 2519 – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2519
ก่อนหน้าพลเอก กฤษณ์ สีวะรา
ถัดไปหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด7 มกราคม พ.ศ. 2442
เสียชีวิต3 มิถุนายน พ.ศ. 2536 (94 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสลมุน คงสมบูรณ์

พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และอดีตสมาชิกวุฒิสภา

ประวัติ

พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา 7 มกราคม พ.ศ.2442 เป็นบุตรของพันโท พระขยันสรกรณ์ (ประยูร เสนีวงศ์ ณ อยุธยา) กับนางชุบ (สกุลเดิม:จารุจินดา) มีพี่น้อง 8 คน สมรสกับนางลมุน คงสมบูรณ์[1]

จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัดราชบพิธ แล้วจึงเข้าศึกษาต่อจนจบระดับอุดมศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก และจบหลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรรุ่นที่ 3 พลเอก ทวิช รับราชการในกองทัพบก เคยดำรงตำแหน่งสำคัญต่าง ๆ เช่น ผู้บังคับบัญชากองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน[2] ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 13[3] เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก เป็นต้น รับราชการมียศสูงสุดที่ พลเอก

งานการเมือง

ในพ.ศ. 2518 พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ต่อมาในพ.ศ. 2519 ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช[4] ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2519 สืบแทน พลเอก กฤษณ์ สีวะรา ซึ่งถึงแก่อนิจกรรรมอย่างกระทันหัน[5] นอกนากนี้พลเอก ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ยังเคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาในวุฒิสภาไทย ชุดที่ 3[6]และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 4[7]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ชมรมสายสกุลจรุจินดา
  2. ผู้บังคับบัญชา กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ในอดีต
  3. อดีตผู้บังคับหน่วย - มณฑลทหารบกที่ ๑๓
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๕ ราย)
  5. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (พลเอก ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา แทน พลเอก กฤษณ์ สีวะรา ซึ่งถึงแก่อนิจกรรม) เล่ม 93 ตอนที่ 68ก วันที่ 29 เมษายน 2519
  6. รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓
  7. วุฒิสภาชุดที่ ๔ (สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๑๘)
  8. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๑๐)