ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ กองทัพกวนตง ด้วย กองทัพคันโต: 'กองทัพกวนตง'→'กองทัพคันโต'
YiFeiBot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 langlinks, now provided by Wikidata on d:q1551794
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
[[หมวดหมู่:ยุทธการในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2]]
[[หมวดหมู่:ยุทธการในสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2]]
{{โครงทหาร}}
{{โครงทหาร}}

[[uk:Японська інтервенція в Манчжурію]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:11, 3 สิงหาคม 2558

การรุกรานแมนจูเรีย
ส่วนหนึ่งของ สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

ทหารญี่ปุ่นที่เมืองมุกเดน
วันที่19 กันยายน ค.ศ. 1931-27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932
สถานที่
ผล จักรวรรดิญี่ปุ่นได้รับชัยชนะ เกิดการพักรบตางกู
คู่สงคราม
ไต้หวัน กองกำลังปฏิวัติแห่งชาติ
สาธารณรัฐจีน
จักรวรรดิญี่ปุ่น
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ไต้หวัน จาง เซวเหลียง
ไต้หวัน Ma Zhanshan
ไต้หวัน เฟิง จานไห่
ไต้หวัน ทิง เชา
ชิเงะรุ ฮนโจ
จิโร มินะมิ
เซนจุโระ ฮายาชิ
กำลัง
160,000 30,000 - 60,450
ความสูญเสีย
ไม่ทราบจำนวน ไม่ทราบจำนวน

การรุกรานแมนจูเรียของญี่ปุ่น เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพคันโตของจักรวรรดิญี่ปุ่น เข้ารุกรานดินแดนแมนจูเรียของจีน ในเหตุการณ์สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 1931 ภายหลังการบุกยึดดินแดนมุกเดน ต่อมาเกิดการเจรจาพักรบตางกู ญี่ปุ่นได้ครอบครองดินแดนแมนจูเรียกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง

การโจมตีทางรถไฟ

วันที่ 19 กันยายน 1931 หนึ่งวันหลังจากเหตุการมุกเดน ศูนย์บัญชาการใหญ่แห่งกองทัพจักรพรรดิ์ญี่ปุ่น ได้ตัดสินในใช้นโยบายการจำกัดขอบเขตไม่ให้ขยายวงกว้างออกไป จึงมีคำสั่งถึงผู้บัญญาการกองทัพคันโต

แต่คำสั่งจากโตเกียวกลับบิดเบือน ผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพคันโต ผู้พันชิเงะรุ ฮนโจ กลับออกคำสั่งให้กองทัพของเขาขยายขอบเขตการปฏิบัติการอย่างรวดเร็วตามเส้นทางรถไฟสายแมนจูเรียใต้ ภายใต้การบังคับบัญชาของ พลโทจิโระ ทามอน ผู้บัญชาการทหารกองพลที่ 2 ได้เคลื่อนพลไปตามเส้นทางรถไฟ เป็นระยะทางกว่า 693 ไมล์ บุกยึดเมืองและหมู่บ้านต่างๆมากมาย เช่น อันชาน ไหเฉิง ไคหยวน ฟูชุน ฉางชุน

แหล่งข้อมูลอื่น