ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตสาทร"

พิกัด: 13°42′29″N 100°31′34″E / 13.708°N 100.526°E / 13.708; 100.526
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 101.108.116.55 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย กสิณธร ราชโอรส
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30: บรรทัด 30:


== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==
พื้นที่เขตสาทรเดิมขึ้นอยู่กับอำเภอบ้านทะวาย [[จังหวัดพระประแดง]] ต่อมาอำเภอบ้านทะวายย้ายมาขึ้นกับ[[จังหวัดพระนคร]] และเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอยานนาวาและ[[เขตยานนาวา]] [[กรุงเทพมหานคร]]ในสมัยต่อมา
พื้นที่เขตสาทรเดิมขึ้นอยู่กับอำเภอบ้านทะวาย [[จังหวัดพระประแดง]] ต่อมาอำเภอปทุมวันย้ายมาขึ้นกับ[[จังหวัดพระนคร]] และเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอปทุมวันและ[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]ในสมัยต่อมา


ภายหลังพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต [[กรุงเทพมหานคร]]จึงได้รวมแขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆให้อยู่ในการดูแลของสำนักงานเขตยานนาวา สาขา 1 (แขวงยานนาวา) และท้องที่ดังกล่าวได้ยกฐานะเป็น '''เขตสาธร''' ในวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] ตามประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตยานนาวา ตั้งเขตสาธรและ[[เขตบางคอแหลม]] โดยนำชื่อคลองและถนนสาธรมาตั้งเป็นชื่อของเขตโดยอนุโลม
ภายหลังพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต [[กรุงเทพมหานคร]]จึงได้รวมแขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆให้อยู่ในการดูแลของสำนักงานเขตปทุมวัน สาขา 1 (แขวงยานนาวา) และท้องที่ดังกล่าวได้ยกฐานะเป็น '''เขตสาธร''' ในวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] ตามประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตปทุมวัน ตั้งเขตสาธร โดยนำชื่อคลองและถนนสาธรมาตั้งเป็นชื่อของเขตโดยอนุโลม


ต่อมาในวันที่ [[23 เมษายน]] [[พ.ศ. 2542]] ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงชื่อ "เขตสาธร" เป็น '''เขตสาทร''' เนื่องจากคำว่า[[สาธร]]ไม่มีความหมายในพจนานุกรม ส่วนคำว่าสาทรมีความหมายว่า ''เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่'' และเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ "หลวงสาทรราชายุตก์ (ยม)" ขุนนางและคหบดีในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ซึ่งเป็นผู้ขุดคลองอันเป็นที่มาของชื่อเขต ดังนั้นชื่อเขตสาธร คลองสาธร ถนนสาธรเหนือ ถนนสาธรใต้ และซอยย่อยของถนนสาธร จึงต้องเขียนเป็น "สาทร" ทั้งหมด<ref>[http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdNakl5TURVMU1RPT0=&sectionid=&day=TWpBd09DMHdOUzB5TWc9PQ== สติ๊กเกอร์รถพยาบาล สาธร-สาทร] คอลัมน์ รู้ไปโม้ด</ref>
ต่อมาในวันที่ [[23 เมษายน]] [[พ.ศ. 2542]] ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงชื่อ "เขตสาธร" เป็น '''เขตสาทร''' เนื่องจากคำว่า[[สาธร]]ไม่มีความหมายในพจนานุกรม ส่วนคำว่าสาทรมีความหมายว่า ''เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่'' และเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ "หลวงสาทรราชายุตก์ (ยม)" ขุนนางและคหบดีในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] ซึ่งเป็นผู้ขุดคลองอันเป็นที่มาของชื่อเขต ดังนั้นชื่อเขตสาธร คลองสาธร ถนนสาธรเหนือ ถนนสาธรใต้ และซอยย่อยของถนนสาธร จึงต้องเขียนเป็น "สาทร" ทั้งหมด<ref>[http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdNakl5TURVMU1RPT0=&sectionid=&day=TWpBd09DMHdOUzB5TWc9PQ== สติ๊กเกอร์รถพยาบาล สาธร-สาทร] คอลัมน์ รู้ไปโม้ด</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:27, 18 กรกฎาคม 2558

เขตสาทร
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhet Sathon
คำขวัญ: 
สำเภาทองล้ำค่า สุสานสวนป่าร่มเย็น
เน้นนโยบายเมืองน่าอยู่ สถาบันให้ความรู้มากมี จุดรวมสถานที่แหล่งทูต
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตสาทร
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตสาทร
พิกัด: 13°42′29″N 100°31′35″E / 13.70806°N 100.52639°E / 13.70806; 100.52639
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
พื้นที่
 • ทั้งหมด9.326 ตร.กม. (3.601 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2557)
 • ทั้งหมด82,432 [1] คน
 • ความหนาแน่น8,996.13 คน/ตร.กม. (23,299.9 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10120
รหัสภูมิศาสตร์1028
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 59 ซอยจันทน์ 18/7 แยก 1 (หน้าเขต) ถนนจันทน์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
เว็บไซต์http://203.155.220.239/subsite/index.php?strOrgID=001011
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขตสาทร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต

ที่ตั้งและอาณาเขต

ตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางรักและเขตปทุมวัน มีคลองสาทรและถนนพระรามที่ 4 ฝั่งใต้เป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคลองเตยและเขตยานนาวา มีแนวทางรถไฟสายช่องนนทรี ซอยเชื้อเพลิง 4 (ศรีรุ้ง) และถนนเย็นอากาศเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเขตยานนาวาและเขตบางคอแหลม มีถนนนางลิ้นจี่ ถนนจันทน์เก่า คลองช่องนนทรี ถนนจันทน์ ถนนสาธุประดิษฐ์ ซอยสาธุประดิษฐ์ 12 (ทวีสิทธิ์) ซอยจันทน์ 43 แยก 33 ซอยจันทน์ 43 (วัดไผ่เงิน) ซอยจันทน์ 43 แยก 14 (อยู่ดี) ซอยเจริญราษฎร์ 5 (อยู่ดี) ซอยเจริญราษฎร์ 8 (อยู่ดี) คูน้ำข้างซอยจันทน์ 34/2 (มิตรสามัคคี) และซอยจันทน์ 49 และคลองกรวยเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตคลองสาน มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติศาสตร์

พื้นที่เขตสาทรเดิมขึ้นอยู่กับอำเภอบ้านทะวาย จังหวัดพระประแดง ต่อมาอำเภอปทุมวันย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอปทุมวันและเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา

ภายหลังพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กรุงเทพมหานครจึงได้รวมแขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆให้อยู่ในการดูแลของสำนักงานเขตปทุมวัน สาขา 1 (แขวงยานนาวา) และท้องที่ดังกล่าวได้ยกฐานะเป็น เขตสาธร ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตปทุมวัน ตั้งเขตสาธร โดยนำชื่อคลองและถนนสาธรมาตั้งเป็นชื่อของเขตโดยอนุโลม

ต่อมาในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2542 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงชื่อ "เขตสาธร" เป็น เขตสาทร เนื่องจากคำว่าสาธรไม่มีความหมายในพจนานุกรม ส่วนคำว่าสาทรมีความหมายว่า เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ และเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ "หลวงสาทรราชายุตก์ (ยม)" ขุนนางและคหบดีในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นผู้ขุดคลองอันเป็นที่มาของชื่อเขต ดังนั้นชื่อเขตสาธร คลองสาธร ถนนสาธรเหนือ ถนนสาธรใต้ และซอยย่อยของถนนสาธร จึงต้องเขียนเป็น "สาทร" ทั้งหมด[2]

การแบ่งเขตการปกครอง

เขตสาทรแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง (khwaeng) ได้แก่

ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2552)
ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2552)
ทุ่งวัดดอน Thung Wat Don
3.195
44,259
13,852.58
15,851
ยานนาวา Yan Nawa
2.090
24,363
11,656.93
9,028
ทุ่งมหาเมฆ Thung Maha Mek
4.041
20,672
5,115.56
11,833
ทั้งหมด 9.326 89,294 9,574.73 36,712

การคมนาคม

ถนนสาทรใต้

ในพื้นที่เขตสาทรมีทางสายหลัก ได้แก่

ส่วนทางสายรอง ได้แก่

และยังมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 1 แห่ง คือ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน

สถานที่สำคัญ

อ้างอิง

  1. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  2. สติ๊กเกอร์รถพยาบาล สาธร-สาทร คอลัมน์ รู้ไปโม้ด

แหล่งข้อมูลอื่น

13°42′29″N 100°31′34″E / 13.708°N 100.526°E / 13.708; 100.526