ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) ไปยัง เจ้าพระยายมราช (ครุฑ): ไม่ใช่คนเดี...
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|||เจ้าพระยายมราช}}
{{ชื่ออื่น|||เจ้าพระยายมราช}}
{{ผู้นำประเทศ
{{ผู้นำประเทศ
| name = เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)
| name = เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)
| image =
| image = เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ).jpg
| imagesize = 200px
| imagesize = 200px
| birth_date = [[20 เมษายน]] [[พ.ศ. 2351]]<ref>วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง : 171</ref>
| birth_date = 5/6 [[เมษายน]] [[พ.ศ. 2351]]
| birth_place =
| birth_place = วันพุธ เดือน 5 แรม 10 ค่ำ ปีมะโรง
| death_date = [[-]] [[พ.ศ. 2437]]
| death_date = [[17 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2408]]
| death_place =
| death_place =
| order = [[เสนาบดีกรมเวียง]]<br>ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| order = เสนาบดีกรมเวียงใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|รัชกาลที่ 4]]
| term_start = [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2397]]
| term_start = [[25 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2407]]
| term_end = [[พ.ศ. 2411]]
| term_end = [[พ.ศ. 2408]]
| predecessor =
| predecessor =
| successor =
| successor =
| order2 =
| order2 = เจ้าเมืองชุมพร<br>ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| term_start2 = [[พ.ศ. 2369]]
| term_start2 =
| term_end2 =
| term_end2 = [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2397]]
| primeminister2 =
| primeminister2 =
| predecessor2 =
| predecessor2 =
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| party =
| party =
}}
}}
'''เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)''' อดีต[[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|เสนาบดีกรมเวียง]]ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="เรื่องตั้ง">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สมมตอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ| ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร| ปี = 2545| ISBN = 974-417-534-6| จำนวนหน้า = 404| หน้า = 62-65}}</ref>

[[ไฟล์:วัดสุบรรณนิมิตร.jpg|thumb|250px|เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) สร้างวัดสุบรรณนิมิตร เมื่อ พ.ศ. 2371]]

'''มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)''' อดีต [[เสนาบดีกรมเวียง]] ที่ 3 ใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] และอดีตเจ้าเมืองชุมพร ใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 3]] ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง ถนนรอบ[[พระบรมมหาราชวัง]]<ref>ภาพเก่าในสยาม : 66</ref> ([[วัดพระแก้ว]]) [[ถนนเจริญกรุง]]ตอนใน<ref>ภาพเก่าในสยาม : 71</ref> สร้างตึกแถวขึ้นสองฝั่งถนนถวายแก่พระราชโอรสธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นตึกชั้นเดียว ถ่ายแบบมาจากประเทศสิงคโปร์<ref>ภาพเก่าในสยาม : 71</ref> สร้าง[[วัดสุบรรณนิมิตร]] และเป็น [[คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า]] จะเห็นว่าในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 4]] เริ่มมีการปฏิรูปและพัฒนาประเทศครั้งใหญ่ ให้เป็นแบบยุโรปในหลายด้านโดยการจ้างชาวต่างชาติเข้ามาจัดการรูปแบบโครงสร้างในแต่ละหน่วย เช่น [[ทหาร]] [[ตำรวจ]] [[ข้าราชการพลเรือน]] คมนาคม การเก็บ[[ภาษี]]เพื่อทำถนนในพระนคร เป็นต้น


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
'''เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)''' เป็นบุตรพระยาอภัยรณฤทธิ์ (ช้าง) เกิดเมื่อวันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 5 ปีมะโรง แต่วันพุธเป็นวันขึ้น 11 ค่ำ ส่วนวันขึ้น 10 ค่ำเป็นวันอังคาร จึงอาจตรงกับวันที่ 5 หรือ 6 [[เมษายน]] [[พ.ศ. 2351]] ท่านเป็นข้าหลวงเดิมใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] และเข้ารับราชการมาตั้งแต่รัชกาลนั้น จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ท่านจึงได้รับแต่งตั้งเป็น''จมื่นสรรเพธภักดี'' หัวหมื่นมหาดเล็ก<ref name="เรื่องตั้ง"/>


ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงโปรดเกล้าให้เป็น''พระยาจำนงภักดี'' จางวางมหาดเล็ก แล้วเลื่อนเป็น''พระยาราชวรานุกูล วิบูลยภักดีวิริยพาห'' ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย ถึงปี พ.ศ. 2407 ทรงโปรดเกล้าให้เลื่อนเป็น''เจ้าพระยายมราช ชาติเสนางคนรินทร์ มหินทราธิบดีศรีวิชัย ราชมไหสวรรยบริรักษ์ ภูมิพิทักษโลกาธิกรณ์ ทัณฑฤทธาดิศร สิงหพาหเทพยมุรธาธร มหานครบาลสมุหบดี อภัยพิริยบรากรมพาหุ''<ref name="เรื่องตั้ง"/>
'''เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ)''' นามเดิม พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ครุฑ) หรือ พระยาชุมพร (ครุธ) หรือ พระยาเพชร เจ้าเมืองชุมพร เป็นบุตร พระยาวิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม(มี) เจ้า[[เมืองไชยา]] มีปู่ชื่อ [[พระยาชุมพร (พวย)]] เจ้า[[เมืองชุมพร]]


เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันอาทิตย์ แรม 14 ค่ำ เดือนอ้าย ปีฉลู ตรงกับวันที่ [[17 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2408]] สิริอายุ 57 ปี<ref name="เรื่องตั้ง"/>
== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองชุมพร ==
* ในต้นปี พ.ศ. 2367 (หรือ พ.ศ. 2366 หากนับแบบเดิม) ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[รัชกาลที่ 2]] [[พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง)]] <ref>จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 153</ref>เจ้าเมืองชุมพร เป็นแม่ทัพเรือ พร้อม พระพลสงครามจางวางเมืองชุมพร (ครุฑ บ่วงราบ) นายกองเรือ ยกกองทัพเรือช่วยรบอังกฤษ ตีเมืองมะริด จับเชลยเมืองมะริด 400 คน แต่อาจเกิดจากการสื่อสารทำให้กองทัพเรือเมืองชุมพรปะทะกับกองทัพเรืออังกฤษ ทหารในบังคับ พระเทพไชยบุรินทร์ (ขุนทอง นิลยกานนท์) เจ้าเมืองท่าแซะ ([[อำเภอท่าแซะ]] [[จังหวัดชุมพร]]) เป็นผู้บังคับเรือ ถูกจับจำนวน 155 คน พร้อมเรือรบ 2 ลำ ทำให้เสียเมืองมะริด ให้แก่[[อังกฤษ]] แต่ยังไม่ได้ปักปันเขตแดน
* ในปี พ.ศ. 2367 ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[รัชกาลที่ 2]] เป็น พระยาชุมพร (ครุฑ บ่วงราบ) รองเจ้าเมืองชุมพร หรือ ปลัดเมืองชุมพร ที่ทำการเมืองชุมพร อยู่บ้านท่ายาง
* ในปี พ.ศ. 2369 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัชกาลที่ 3]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองชุมพร จึงย้ายที่ทำการเมืองชุมพร อยู่บ้านท่าตะเภา ในปัจจุบัน และสร้างนาทุ่งหลวง ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอีกด้วย
* ในปี พ.ศ. 2371 สร้าง[[วัดสุบรรณนิมิตร]]<ref>ประวัติวัดสุบรรณนิมิตร</ref> ตำบลตากแดด อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร
* คณะข้าหลวงเจรจาปักปันเขตแดนไทย-พม่า ครั้งแรก ที่เมืองมะลิวัลย์ ระหว่าง[[ประเทศไทย]]-[[ประเทศอังกฤษ]] แต่ไม่ได้ตกลงกัน ที่เมืองมะลิวัลย์ (Maliwun)<ref>มะลิวัลย์ พม่าเรียกมะลิยุน สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเรียกมะลิวัน</ref> ในปัจจุบันคือ จังหวัดเกาะสอง หรือ วิคตอเรียพอยท์ อยู่ในประเทศพม่า
* ในปี พ.ศ. 2381 - 2382 นำกองทัพเมืองชุมพร เมืองประทิว จำนวน 1,216 คน<ref>จดหมายหลวงอุดมสมบัติ : 371</ref> ออกเดินทาง วันอังคาร ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2382 เข้าร่วมกองทัพหลวงปราบปรามความวุ่นวายในหัวเมืองปักษ์ใต้ ([[กบฏหวันหมาดหลี]]) เมืองไทรบุรี ในบังคับบัญชา พระยาเสนาภูเบศร์ แม่ทัพหน้า
* ในปี พ.ศ. 2392 รับผิดชอบการเกณฑ์ทหาร ที่เมืองชุมพร โดยมี[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] (ดิศ บุนนาค) ว่าที่สมุหกลาโหม ออกไปสักเลข (เกณฑ์ทหาร) ด้วยตนเอง ที่เมืองชุมพร จึงได้มีบุตรกับหม่อมอิน เกิดที่เมืองชุมพร นามว่า พร ต่อมาคือ [[เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)]]


== ครอบครัว ==
== ผลงานขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง ==
เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) มีบุตรธิดา 3 คน ไม่ได้เข้ารับราชการใด ๆ ได้แก่<ref name="เรื่องตั้ง"/>
* วันศุกร์ ที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2397]] เข้าดำรงตำแหน่งเสนาบดีกรมเวียง คือ [[กระทรวงมหาดไทย]] และ [[กระทรวงยุติธรรม]] ในปัจจุบัน
# ผิน
* วันพุธ ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เป็นแม่กอง ทำถนนใหม่และซ่อมแซมถนนที่ชำรุดในพระนครทุกสาย<ref>พระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัว รัชกาลที่ 4</ref> (สมันนั้นคือ ถนนรอบ[[พระบรมมหาราชวัง]] [[วัดพระแก้ว]])เพื่อเป็นสาธารณะกุศล เป็นประโยชน์แก่คนทั่วไป<ref>ภาพเก่าในสยาม : 66</ref> ถือว่าเป็นจุดกำเนิดการคมนาคมทางบกครั้งแรก แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] และเป็น[[กระทรวงคมนาคม]] ในปัจจุบัน
# ครุฑ
* ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2404 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ได้ตั้งกองโปลิศ หรือกรมกองตระเวน (ตำรวจนครบาล)<ref>นายพันตำรวจโท ฟอร์ตี (C.H. Forty) : A Sketch of Siam's Gendarmerie</ref> ขึ้นเป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2405 ได้ว่าจ้าง กัปตัน เอส. เย. เบิร์ดเอมส์ (Captain Sammoal Joseph Bird Ames) ชาว[[อังกฤษ]] ซึ่งได้รับบรรดาศักดิ์เป็น หลวงรัฐยาภิบาลบัญชา มาเป็นผู้พิจารณาวางโครงการจัดตั้งกองตำรวจ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในเขตนครหลวงตามแบบอย่าง[[ยุโรป]]ขึ้นเป็นครั้งแรก และเป็น [[สำนักงานตำรวจแห่งชาติ]] ในปัจจุบัน
# เม้า
* ในปี พ.ศ. 2405-2407 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ เป็นแม่กอง<ref>ย่ำถนนยลถิ่นจีน : 11</ref> รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน<ref>วารสาร "นครบาลวันนี้" , พ.ต.ท.ยอดชาย ผู้สันติ รอง ผกก.2 บก.จร.</ref> คือช่วงระยะทางตั้งแต่[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]]ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เป็นถนนสายแรกของประเทศไทยที่ขยายออกนอกพระนคร
* ในปี พ.ศ. 2408 - 2411 เป็น [[คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า]]อย่างเป็นทางการครั้งแรกของไทย ลงนาม วันที่ [[3 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2411]]
* มอบหมายให้ หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) บุตร เจ้าพระยายมราช (ครุฑ บ่วงราบ) นำกำลังเข้ายึดและปกครองเมือง[[มะริด]] ทะวาย และ[[ตะนาวศรี]] อย่างลับๆ โดยปกครองแบบอาณานิคมสยามในบังคับ[[อังกฤษ]]<ref>Imperial Gazetteer of India 5:297</ref> แต่ไม่ได้รับความร่วมมือจากคนไทยในเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี<ref>Scott 1999: 115</ref> เห็นว่าการปกครองแบบอาณานิคมดีแล้ว

== รายนามนายกรัฐมนตรี ผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ ==
* ลำดับ 1 หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) พ.ศ. 2411 - 2467
* ลำดับ 2 นายคุ้ม บ่วงราบ หรือ สมพร พ.ศ. 2467 - 2489 ถูกนายแพ้ว อุ้ยนอง พร้อมพวกลูกน้องสังหาร ที่บ้านบ้องขอน
* ลำดับ 3 นายแพ้ว อุ้ยนอง เสียชีวิตจากไข้มาเลเรีย
* ลำดับ 4 นายชม นามวงศ์ หรือ พรานชม ถูกกองทัพพม่าโจมตีเข้าไทยทางด่านสิงขร
* ลำดับ 5 นายชด ชมปุระ ถูกนายสร้วง ลอบสังหารกลางงานเลี้ยง
* ลำดับ 6 นายหลง สักคุณี ก่อนปี พ.ศ. 2506 ถูกนายพันถอไซ ลอบสังหารที่บ้านนามะพร้าว
* ลำดับ 7 นายสร้วง ประสมชิด พ.ศ. 2507 ถูกลูกน้องลอบสังหารที่บ้านเกิดในอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
* ลำดับ 8 นายพันถอไซ เริ่มปกครอง พ.ศ. 2508 หัวหน้ากลุ่มกะเหรี่ยงเสรี ออกจากราชการตำรวจพม่าจัดตั้งใหม่ เข้าปกครองแต่คนไทยบางส่วนยังไม่กลับเข้าประเทศไทย
* ลำดับ 9 นายบาเฮา บุตร นายพันถอไซ การปกครองสิ้นสุด พ.ศ. 2535

อาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ในจักรวรรดิอังกฤษ<ref>Imperial Gazetteer of India 5:297</ref> ได้รับเอกราชแล้ว เช่นเดียวกับประเทศมาเลเชีย ประเทศสิงคโปร์ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ขอความร่วมมือตีย่างกุ้งกับกองทัพญี่ปุ่น ทำให้อังกฤษและพม่าไม่พอใจ ในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลพม่าได้ระดมกำลังทหารเข้ายึดและปกครองเมือง[[มะริด]] ทะวาย และ[[ตะนาวศรี]] ต่อมาได้มีการกวาดล้างชนกลุ่มน้อยจนทำให้กะเหรี่ยงเสรีต้องอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า ส่วนคนไทยต้องอพยพเข้าประเทศไทยตั้งแต่นั้นมา และผู้อพยพกลับหลังจาก พ.ศ. 2520 จะเป็นคนไทยไม่มีบัตรประชาชน หรือ ที่เรียกว่า [[ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี]], [[เขตตะนาวศรี]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูล ==
* จดหมายเหตุหลวงอุดมสมบัติ (จัน){{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* วิจารณ์ดวงชะตา 200 ดวง{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* ภาพเก่าในสยาม{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* ย่ำถนนยลถิ่นจีน{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* ตำแหน่งยศท่านเจ้าพระยาเสนาบดี 54 นาม ตั้งแต่สร้างกรุงเทพฯ ถึงร้อยปี (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2425){{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* A Sketch of Siam's Gendarmerie{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* Imperial Gazetteer of India{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}
* Scott 1999{{ต้องการอ้างอิงเต็ม}}


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

* [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]
* [[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]


{{เรียงลำดับ|ยมราช (ครุฑ)}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{อายุขัย|2351|2408}}
* [http://www.chumphon.go.th/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของจังหวัด]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา]]
* [http://www.chumphontown.go.th/ เว็บไซต์ข้อมูลเมืองชุมพร]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยไทย]]
* [http://www.bunnag.in.th/ ชมรมสายสกุลบุนนาค] ชีวประวัติ [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] (ดิศ บุนนาค) และ [[เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)]]
* [http://www.gotoknow.org/blog/thaikm/233456/ ชีวิตที่พอเพียง : ๕๖๒. ประวัติศาสตร์บอกเล่าชาวชุมพร]
* [http://www1.mod.go.th/heritage/nation/oldcity/chumporn2.htm พัฒนาการทางประวัติศาสตร์เมืองชุมพร]

{{เรียงลำดับ|ยมราช (ครุฑ บ่วงราบ)}}

[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นเจ้าพระยา|ยมราช]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายจาม]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดชุมพร]]
[[หมวดหมู่:สกุลบ่วงราบ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:53, 16 กรกฎาคม 2558

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ)
เสนาบดีกรมเวียงในรัชกาลที่ 4
ดำรงตำแหน่ง
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2407 – พ.ศ. 2408
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด5/6 เมษายน พ.ศ. 2351
เสียชีวิต17 ธันวาคม พ.ศ. 2408
ศาสนาพุทธ

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) อดีตเสนาบดีกรมเวียงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว[1]

ประวัติ

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นบุตรพระยาอภัยรณฤทธิ์ (ช้าง) เกิดเมื่อวันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 5 ปีมะโรง แต่วันพุธเป็นวันขึ้น 11 ค่ำ ส่วนวันขึ้น 10 ค่ำเป็นวันอังคาร จึงอาจตรงกับวันที่ 5 หรือ 6 เมษายน พ.ศ. 2351 ท่านเป็นข้าหลวงเดิมในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเข้ารับราชการมาตั้งแต่รัชกาลนั้น จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านจึงได้รับแต่งตั้งเป็นจมื่นสรรเพธภักดี หัวหมื่นมหาดเล็ก[1]

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าให้เป็นพระยาจำนงภักดี จางวางมหาดเล็ก แล้วเลื่อนเป็นพระยาราชวรานุกูล วิบูลยภักดีวิริยพาห ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย ถึงปี พ.ศ. 2407 ทรงโปรดเกล้าให้เลื่อนเป็นเจ้าพระยายมราช ชาติเสนางคนรินทร์ มหินทราธิบดีศรีวิชัย ราชมไหสวรรยบริรักษ์ ภูมิพิทักษโลกาธิกรณ์ ทัณฑฤทธาดิศร สิงหพาหเทพยมุรธาธร มหานครบาลสมุหบดี อภัยพิริยบรากรมพาหุ[1]

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันอาทิตย์ แรม 14 ค่ำ เดือนอ้าย ปีฉลู ตรงกับวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2408 สิริอายุ 57 ปี[1]

ครอบครัว

เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) มีบุตรธิดา 3 คน ไม่ได้เข้ารับราชการใด ๆ ได้แก่[1]

  1. ผิน
  2. ครุฑ
  3. เม้า

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 สมมตอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. เรื่องตั้งเจ้าพระยาในกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 404 หน้า. หน้า 62-65. ISBN 974-417-534-6

ดูเพิ่ม