ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
}}
}}


'''อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค''' ({{lang-sk|Alexander Dubček}}; [[27 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1921]] – [[7 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1992]]) เป็น[[นักการเมือง]][[ชาวสโลวาเกีย]] เป็นอดีตผู้นำ[[เชโกสโลวาเกีย]] (ค.ศ. 1968–1969) ในช่วง[[ปรากสปริง]] เขาพยายามที่จะปฏิรูป[[สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก]] แต่ถูกบีบให้ลาออกหลัง[[การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญาวอร์ซอ]] หลัง[[การปฏิวัติกำมะหยี่]] ดุปเชคดำรงตำแหน่งเป็นประธาน[[รัฐสภาแห่งสมาพันธ์เชโกสโลวาเกีย]]
'''อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค''' ({{lang-sk|Alexander Dubček}}; [[27 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1921]] – [[7 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1992]]) เป็น[[นักการเมือง]][[ชาวสโลวาเกีย]] เป็นอดีตผู้นำ[[เชโกสโลวาเกีย]] (ค.ศ. 1968–1969) ในช่วง[[ปรากสปริง]] เขาพยายามที่จะปฏิรูป[[สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก]] แต่ถูกบีบให้ลาออกหลัง[[การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญาวอร์ซอ]]<ref>[http://www.historylearningsite.co.uk/modern-world-history-1918-to-1980/the-cold-war/alexander-dubcek/ Alexander Dubcek - History Learning Site]</ref>

== ประวัติ ==
อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค เกิดเมื่อ ค.ศ. 1921 ที่เมือง[[อูห์โรวิค]] ใน[[เชโกสโลวาเกีย]]<ref name=dk98>{{cite book|title=A Dictionary of Political Biography|year=1998|publisher=OUP|location=Oxford|page=152|url=http://www.questia.com/read/34683530/a-dictionary-of-political-biography|author=Dennis Kavanagh|accessdate=1 กันยายน 2013|chapter=Dubcek, AAlexander}}</ref> และเติบโตใน[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ]] (ปัจจุบันคือ [[คีร์กีซสถาน]]) พออายุได้ 17 ปี ครอบครัวของเขาก็ย้ายกลับไปอยู่ที่เชโกสโลวาเกีย ช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ดุปเชคได้เข้าร่วมกลุ่มต่อต้าน[[นาซี]]ในสโลวาเกีย และเข้าร่วม[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสโลวาเกีย]] ซึ่งต่อมากลายเป็น[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย]] กระทั่งในเดือนมกราคม ค.ศ. 1968 ดุปเชคก็ได้ขึ้นเป็นเลขานุการลำดับที่หนึ่งของพรรค การขึ้นสู่อำนาจของเขาก่อให้เกิดปรากฏการณ์[[ปรากสปริง]] เขาร่วมมือกับนักปฏิรูปหลายคนเพื่อเริ่มสิ่งที่เรียกว่า "สังคมนิยมแบบใบหน้ามนุษย์" (socialism with a human face) ซึ่งเป็นการเปิดเสรีทางการเมืองและให้สิทธิ์ต่าง ๆ กับประชาชน<ref>[http://articles.latimes.com/1992-11-08/news/mn-552_1_alexander-dubcek Alexander Dubcek, Hero of 'Prague Spring,' Dies : Czechoslovakia: He espoused 'socialism with a human face' in 1968, and he remained beloved.]</ref> แต่สมาชิกบางกลุ่มในพรรคและเหล่าผู้นำ[[สนธิสัญญาวอร์ซอ]]มองว่าสิ่งนี้เป็นภัยต่อระบอบ[[คอมมิวนิสต์]] เดือนสิงหาคม ปีเดียวกัน [[การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญาวอร์ซอ|สหภาพโซเวียตและกลุ่มสนธิสัญญาวอร์ซอบุกเข้าเชโกสโลวาเกีย]]<ref>[http://spartacus-educational.com/COLDdubcek.htm Alexander Dubcek - Spartacus Educational]</ref> ดุปเชคและนักปฏิรูปคนอื่น ๆ ถูกคุมตัวไปที่[[มอสโก]]และถูกบังคับให้ลงนามใน[[พิธีสารมอสโก]]<ref>[http://www.findingdulcinea.com/news/on-this-day/On-this-Day--Reformist-Czech-Leader-Dubcek-Takes-Power.html On This Day: Reformist Alexander Dubcek Takes Power in Czechoslovakia]</ref> สองปีหลังจากปรากสปริง ดุปเชคก็ถูกขับไล่ออกจากพรรค

หลังจากถูกขับไล่ออกจากพรรค ดุปเชคและภรรยาใช้ชีวิตอย่างสงบใน[[บราติสลาวา]] ในปี ค.ศ. 1989 เขาได้รับ[[รางวัลซาคาลอฟ]] ในปีเดียวกัน ดุปเชคได้สนับสนุน[[การปฏิวัติกำมะหยี่]] หลังการปฏิวัติ ดุปเชคได้รับเลือกเป็นประธาน[[รัฐสภาแห่งสมาพันธ์เชโกสโลวาเกีย]]<ref>[http://www.encyclopedia.com/topic/Alexander_Dubcek.aspx Alexander Dubcek Facts, information, pictures | Encyclopedia.com]</ref> จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1992<ref>[http://www.nytimes.com/1992/11/09/obituaries/alexander-dubcek-70-dies-in-prague.html Alexander Dubcek, 70, Dies in Prague - NYTimes.com]</ref>

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* {{Commons category-inline|Alexander Dubček|อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค}}
* {{Commons category-inline|Alexander Dubček|อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค}}
* [http://global.britannica.com/biography/Alexander-Dubcek Alexander Dubcek | biography - Slovak statesman | Britannica.com]


{{อายุขัย|2464|2535}}
{{อายุขัย|2464|2535}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:44, 14 กรกฎาคม 2558

อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค
อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในปี ค.ศ. 1989
เลขานุการลำดับที่หนึ่งแห่งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย
ดำรงตำแหน่ง
5 มกราคม ค.ศ. 1968 – 17 เมษายน ค.ศ. 1969
ก่อนหน้าอันโตนิน โนวอตนี
ถัดไปกุสตาฟ ฮูแซค
ประธานรัฐสภาแห่งสมาพันธ์เชโกสโลวาเกีย
ดำรงตำแหน่ง
28 ธันวาคม ค.ศ. 1989 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1992
ก่อนหน้าอาลัวส์ อินดรา
ถัดไปมิคาล โควิช
ประธานรัฐสภาแห่งสมาพันธ์เชโกสโลวาเกีย
ดำรงตำแหน่ง
28 เมษายน ค.ศ. 1969 – 15 ตุลาคม ค.ศ. 1969
ก่อนหน้าปีเตอร์ โคลอตกา
ถัดไปดาลิบอร์ ฮาเนส
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921(1921-11-27)
อูห์โรเวค, เชโกสโลวาเกีย
(ปัจจุบันอยู่ในสโลวาเกีย)
เสียชีวิต7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992(1992-11-07) (70 ปี)
ปราก, เชโกสโลวาเกีย
(ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก)
พรรคการเมืองพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสโลวาเกีย (ค.ศ. 1939-1948)

พรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ. 1948–1970)
ขบวนการสาธารณะต่อต้านความรุนแรง (ค.ศ. 1989-1992)

พรรคสังคมประชาธิปไตยแห่งสโลวาเกีย (ค.ศ. 1992)
ลายมือชื่อ

อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค (สโลวัก: Alexander Dubček; 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 19217 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992) เป็นนักการเมืองชาวสโลวาเกีย เป็นอดีตผู้นำเชโกสโลวาเกีย (ค.ศ. 1968–1969) ในช่วงปรากสปริง เขาพยายามที่จะปฏิรูปสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก แต่ถูกบีบให้ลาออกหลังการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายสนธิสัญญาวอร์ซอ[1]

ประวัติ

อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค เกิดเมื่อ ค.ศ. 1921 ที่เมืองอูห์โรวิค ในเชโกสโลวาเกีย[2] และเติบโตในสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ (ปัจจุบันคือ คีร์กีซสถาน) พออายุได้ 17 ปี ครอบครัวของเขาก็ย้ายกลับไปอยู่ที่เชโกสโลวาเกีย ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ดุปเชคได้เข้าร่วมกลุ่มต่อต้านนาซีในสโลวาเกีย และเข้าร่วมพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสโลวาเกีย ซึ่งต่อมากลายเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย กระทั่งในเดือนมกราคม ค.ศ. 1968 ดุปเชคก็ได้ขึ้นเป็นเลขานุการลำดับที่หนึ่งของพรรค การขึ้นสู่อำนาจของเขาก่อให้เกิดปรากฏการณ์ปรากสปริง เขาร่วมมือกับนักปฏิรูปหลายคนเพื่อเริ่มสิ่งที่เรียกว่า "สังคมนิยมแบบใบหน้ามนุษย์" (socialism with a human face) ซึ่งเป็นการเปิดเสรีทางการเมืองและให้สิทธิ์ต่าง ๆ กับประชาชน[3] แต่สมาชิกบางกลุ่มในพรรคและเหล่าผู้นำสนธิสัญญาวอร์ซอมองว่าสิ่งนี้เป็นภัยต่อระบอบคอมมิวนิสต์ เดือนสิงหาคม ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตและกลุ่มสนธิสัญญาวอร์ซอบุกเข้าเชโกสโลวาเกีย[4] ดุปเชคและนักปฏิรูปคนอื่น ๆ ถูกคุมตัวไปที่มอสโกและถูกบังคับให้ลงนามในพิธีสารมอสโก[5] สองปีหลังจากปรากสปริง ดุปเชคก็ถูกขับไล่ออกจากพรรค

หลังจากถูกขับไล่ออกจากพรรค ดุปเชคและภรรยาใช้ชีวิตอย่างสงบในบราติสลาวา ในปี ค.ศ. 1989 เขาได้รับรางวัลซาคาลอฟ ในปีเดียวกัน ดุปเชคได้สนับสนุนการปฏิวัติกำมะหยี่ หลังการปฏิวัติ ดุปเชคได้รับเลือกเป็นประธานรัฐสภาแห่งสมาพันธ์เชโกสโลวาเกีย[6] จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1992[7]

อ้างอิง

  1. Alexander Dubcek - History Learning Site
  2. Dennis Kavanagh (1998). "Dubcek, AAlexander". A Dictionary of Political Biography. Oxford: OUP. p. 152. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2013.
  3. Alexander Dubcek, Hero of 'Prague Spring,' Dies : Czechoslovakia: He espoused 'socialism with a human face' in 1968, and he remained beloved.
  4. Alexander Dubcek - Spartacus Educational
  5. On This Day: Reformist Alexander Dubcek Takes Power in Czechoslovakia
  6. Alexander Dubcek Facts, information, pictures | Encyclopedia.com
  7. Alexander Dubcek, 70, Dies in Prague - NYTimes.com

แหล่งข้อมูลอื่น