ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนวรวงศาธิราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


'''ขุนวรวงศาธิราช''' เป็น[[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] นัก[[ประวัติศาสตร์ไทย]]ไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับ[[นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์]]แย่งชิงราชบัลลังก์จาก[[พระยอดฟ้า]] อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่าน[[พิธีราชาภิเษก|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]]แล้ว
'''ขุนวรวงศาธิราช''' เป็น[[พระมหากษัตริย์ไทย]]ในสมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] นัก[[ประวัติศาสตร์ไทย]]ไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับ[[นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์]]แย่งชิงราชบัลลังก์จาก[[พระยอดฟ้า]] อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่าน[[พิธีราชาภิเษก|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]]แล้ว


== พระราชประวัติ ==
== พระราชประวัติ ==
ขุนวรวงศาธิราชเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ ในตระกูลอำมาตย์ พระนามเดิมว่าว่า '''บุญศรี'''<ref name="คำให้การชาวกรุงเก่า">''คำให้การชาวกรุงเก่า'', พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 492-496</ref> เดิมมีตำแหน่งเป็น '''พันบุตรศรีเทพ''' ผู้เฝ้าหอพระข้างหน้า<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) '', นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 64-7</ref> มีหน้าที่เป็นผู้กระทำพิธีการต่าง ๆ
ขุนวรวงศาธิราชเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ ในตระกูลอำมาตย์ พระนามเดิมว่าว่า '''บุญศรี'''<ref name="คำให้การชาวกรุงเก่า">''คำให้การชาวกรุงเก่า'', พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 492-496</ref> เดิมมีตำแหน่งเป็น '''พันบุตรศรีเทพ''' ผู้เฝ้าหอพระข้างหน้า<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) '', นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 64-7</ref> มีหน้าที่เป็นผู้กระทำพิธีการต่าง ๆ


บางทฤษฎีเชื่อว่าพระองค์เป็นบุตรหรือมีเชื้อสายสืบทอดมาจาก[[อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ|เจ้าเมืองศรีเทพ]]อันเป็นเมืองลูกหลวงสมัยราชวงศ์อู่ทองครองกรุงศรีอยุธยา <ref name="เทป">[http://www.4shared.com/mp3/VkCbEI9V/01_____.html] เทปสนทนาเรื่อง ''กำเนิดอยุธยาและวาระสุดท้ายสุริโยทัย'', "คุยกันจันทร์ถึงศุกร์ กับ วีระ ธีรภัทร" โดย [[วีระ ธีรภัทร]] และ ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]] ทางตรินิตี้เรดิโอ F.M. 97.00 Mhz</ref>
บางทฤษฎีเชื่อว่าพระองค์เป็นบุตรหรือมีเชื้อสายสืบทอดมาจาก[[อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ|เจ้าเมืองศรีเทพ]]อันเป็นเมืองลูกหลวงสมัยราชวงศ์อู่ทองครองกรุงศรีอยุธยา <ref name="เทป">[http://www.4shared.com/mp3/VkCbEI9V/01_____.html] เทปสนทนาเรื่อง ''กำเนิดอยุธยาและวาระสุดท้ายสุริโยทัย'', "คุยกันจันทร์ถึงศุกร์ กับ วีระ ธีรภัทร" โดย [[วีระ ธีรภัทร]] และ ดร.[[สุเนตร ชุตินธรานนท์]] ทางตรินิตี้เรดิโอ F.M. 97.00 Mhz</ref>


=== การพบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ ===
=== การพบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ ===
วันหนึ่งในรัชสมัย[[สมเด็จพระไชยราชา]] [[นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์]]พระมารดาของพระยอดฟ้าเสด็จไปพระที่นั่งพิมานรัตยาหอพระข้างหน้า ทอดพระเนตรเห็นพันบุตรศรีเทพก็เกิดมีความรักใคร่ จึงสั่งให้สาวใช้เอาเมี่ยงหมากห่อผ้าไปพระราชทานให้ พันบุตรศรีเทพก็เข้าใจว่าพระนางมีใจรักจึงเอาดอกจำปาให้สาวใช้นำไปถวาย ท้าวศรีสุดาจันทร์ก็ยิ่งมีความกำหนัดในตัวพันบุตรศรีเทพ<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) "/>
วันหนึ่งในรัชสมัย[[พระยอดฟ้า]] [[นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์]]ซึ่งเป็นพระราชชนนีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้เสด็จไปพระที่นั่งพิมานรัถยาหอพระข้างหน้า ทอดพระเนตรเห็นพันบุตรศรีเทพก็เกิดมีความรักใคร่ จึงสั่งให้สาวใช้เอาเมี่ยงหมากห่อผ้าไปพระราชทานให้ พันบุตรศรีเทพก็เข้าใจว่าพระนางมีใจรักจึงเอาดอกจำปาให้สาวใช้นำไปถวาย ท้าวศรีสุดาจันทร์ก็ยิ่งมีความกำหนัดในตัวพันบุตรศรีเทพ<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/>


=== การเลื่อนบรรดาศักดิ์ ===
=== การเลื่อนบรรดาศักดิ์ ===
ต่อมานางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ได้ให้พระยาราชภักดีเลื่อนพันบุตรศรีเทพเป็น '''ขุนชินราช''' (ใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]เรียกว่า ขุนเชียรราช) ผู้รักษาหอพระข้างใน ส่วนขุนชินราชคนเดิมให้ไปเป็นพันบุตรศรีเทพ จากนั้นขุนชินราชก็ลักลอบเป็นชู้กับท้าวศรีสุดาจันทร์เป็นเวลานาน<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) "/>
ต่อมานางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ได้ให้พระยาราชภักดีเลื่อนพันบุตรศรีเทพเป็น '''ขุนชินราช''' (ใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]เรียกว่า ขุนเชียรราช) ผู้รักษาหอพระข้างใน ส่วนขุนชินราชคนเดิมให้ไปเป็นพันบุตรศรีเทพ จากนั้นขุนชินราชก็ลักลอบเป็นชู้กับท้าวศรีสุดาจันทร์เป็นเวลานาน<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/>


ท้าวศรีสุดาจันทร์คิดจะแย่งชิงราชบัลลังก์ให้กับขุนชินราช จึงให้พระยาราชภักดีเลื่อนบรรดาศักดิ์ขุนชินราชเป็น '''ขุนวรวงศาธิราช''' เพื่อเป็นการเพิ่มอำนาจ นอกจากนั้นยังให้ปลูกจวนอยู่ริมศาลาสารบัญชีกับจวนสำหรับขุนวรวงศาธิราชว่าราชการอยู่ที่ประตูดินริมต้นหมัน ให้พิจารณาเลขสังกัดสมพรรค์ แล้วให้เตียงอันเป็นพระราชอาสน์ให้ขุนวรวงศาธิราชนั่งเพื่อให้ขุนนางทั้งหลายมีความยำเกรง
ท้าวศรีสุดาจันทร์คิดจะแย่งชิงราชบัลลังก์ให้กับขุนชินราช จึงให้พระยาราชภักดีเลื่อนบรรดาศักดิ์ขุนชินราชเป็น '''ขุนวรวงศาธิราช''' เพื่อเป็นการเพิ่มอำนาจ นอกจากนั้นยังให้ปลูกจวนอยู่ริมศาลาสารบัญชีกับจวนสำหรับขุนวรวงศาธิราชว่าราชการอยู่ที่ประตูดินริมต้นหมัน ให้พิจารณาเลขสังกัดสมพรรค์ แล้วให้เตียงอันเป็นพระราชอาสน์ให้ขุนวรวงศาธิราชนั่งเพื่อให้ขุนนางทั้งหลายมีความยำเกรง


เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ พระยามหาเสนาได้พูดกับพระยาราชภักดีว่า''"เมื่อแผ่นดินเป็นทุรยศฉะนี้ เราจะคิดประการใด"'' แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ทรงทราบจึงให้พระยามหาเสนามาเข้าเฝ้าที่ประตูดิน จนเวลาค่ำพระยามหาเสนากลับออกไป มีผู้มาแทงพระยามหาเสนาตาย ก่อนตายพระยามหาเสนากล่าวว่า ''"เมื่อเราเป็นดั่งนี้แล้ว ผู้อยู่ภายหลังจะเป็นประการใดเล่า"''<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) "/>
เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ พระยามหาเสนาได้พูดกับพระยาราชภักดีว่า''"เมื่อแผ่นดินเป็นทุรยศฉะนี้ เราจะคิดประการใด"'' แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ทรงทราบจึงให้พระยามหาเสนามาเข้าเฝ้าที่ประตูดิน จนเวลาค่ำพระยามหาเสนากลับออกไป มีผู้มาแทงพระยามหาเสนาตาย ก่อนตายพระยามหาเสนากล่าวว่า ''"เมื่อเราเป็นดั่งนี้แล้ว ผู้อยู่ภายหลังจะเป็นประการใดเล่า"''<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/>


=== การขึ้นครองราชย์ ===
=== การขึ้นครองราชย์ ===
ใน[[พ.ศ. 2091]] [[นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์]]ทรงอ้างว่า[[พระยอดฟ้า]]ยังทรงพระเยาว์ หัวเมืองฝ่ายเหนือก็ไม่เป็นปกติจึงปรึกษากับขุนนางว่าจะให้ขุนวรวงศาธิราชว่าราชการแผ่นดินจนกว่าพระยอดฟ้าจะทรงเจริญพระชนมายุ จึงทำพิธีราชาภิเษกขุนวรวงศาธิราชเป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]และสถาปนานายจัน น้องชายขุนวรวงศาธิราชอยู่บ้านมหาโลก ขึ้นเป็น[[พระมหาอุปราช]]<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) "/>
ใน[[พ.ศ. 2091]] นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ทรงอ้างว่าพระยอดฟ้ายังทรงพระเยาว์ หัวเมืองฝ่ายเหนือก็ไม่เป็นปกติจึงปรึกษากับขุนนางว่าจะให้ขุนวรวงศาธิราชว่าราชการแผ่นดินจนกว่าพระยอดฟ้าจะทรงเจริญพระชนมายุ จึงทำพิธีราชาภิเษกขุนวรวงศาธิราชเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาและสถาปนา[[มหาอุปราช (จัน)|นายจัน]] น้องชายขุนวรวงศาธิราชอยู่บ้านมหาโลก ขึ้นเป็น[[พระมหาอุปราช]]<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/>


เมื่อขุนวรวงศาธิราชได้ครองราชบัลลังก์ก็สมคบกับท้าวศรีสุดาจันทร์นำพระยอดฟ้าไปสำเร็จโทษที่วัดโคกพระยา เมื่อ [[พ.ศ. 2072]] [[วันอาทิตย์]] ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) "/> ส่วน[[พระศรีศิลป์]]พระโอรสองค์เล็กใน[[สมเด็จพระไชยราชาธิราช]]ที่ประสูติแต่ท้าวศรีสุดาจันทร์นั้นไม่ได้นำไปสำเร็จโทษแต่ให้เลี้ยงไว้
เมื่อขุนวรวงศาธิราชได้ครองราชบัลลังก์ก็สมคบกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์นำพระยอดฟ้าไปสำเร็จโทษที่[[วัดโคกพระยา]] เมื่อ[[วันอาทิตย์]] ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ตรงกับวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091<ref>{{cite book | author = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | title = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | publisher = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | location = กรุงเทพฯ | year = 2554 | page = 98}}</ref> ปีจอ จ.ศ. 910 (พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศว่าตรงกับปีฉลู [[พ.ศ. 2072]]<ref name="พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)"/>) ส่วน[[พระศรีศิลป์ (พระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราช)|พระศรีศิลป์]] พระราชโอรสพระองค์เล็กใน[[สมเด็จพระไชยราชาธิราช]]ที่ประสูติแต่ท้าวศรีสุดาจันทร์นั้นไม่ได้นำไปสำเร็จโทษแต่ให้เลี้ยงไว้


=== การถูกล้มล้างราชบัลลังก์ ===
=== การล้มล้างราชบัลลังก์ ===
การครองราชบัลลังก์ของขุนวรวงศาธิราชนั้น ไม่เป็นที่เห็นชอบของขุนนางในราชสำนักและพระญาติวงศ์บางส่วน เพราะขุนวรวงศาธิราชทรงขึ้นครองบัลลังก์โดยไม่ชอบธรรมจึงมีขุนนางบางคนรวมตัวกันเพื่อล้มล้างราชบัลลังก์ ได้แก่ [[สมเด็จพระมหาธรรมราชา|ขุนพิเรนทรเทพ]] เจ้านายเชื้อสาย[[ราชวงศ์พระร่วง]] [[เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช|ขุนอินทรเทพ]] [[หมื่นราชเสน่หา]] (ในราชการ) และ[[หลวงศรียศ]]บ้านลานตากฟ้า
การครองราชบัลลังก์ของขุนวรวงศาธิราชนั้น ไม่เป็นที่เห็นชอบของขุนนางในราชสำนักและพระญาติวงศ์บางส่วน เพราะขุนวรวงศาธิราชทรงขึ้นครองบัลลังก์โดยไม่ชอบธรรมจึงมีขุนนางบางคนรวมตัวกันเพื่อล้มล้างราชบัลลังก์ ได้แก่ [[สมเด็จพระมหาธรรมราชา|ขุนพิเรนทรเทพ]] เจ้านายเชื้อสาย[[ราชวงศ์พระร่วง]] [[เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช|ขุนอินทรเทพ]] [[หมื่นราชเสน่หา]] (ในราชการ) และ[[หลวงศรียศ]]บ้านลานตากฟ้า


บรรทัด 78: บรรทัด 78:


{{เรียงลำดับ|วรวงศาธิราช}}
{{เรียงลำดับ|วรวงศาธิราช}}
{{อายุขัย|2046|2091}}
{{เกิดปี|2046}}{{เสียชีวิตปี|2091}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นขุน]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นขุน]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่นับถือศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่นับถือศาสนาฮินดู]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:58, 5 กรกฎาคม 2558

ขุนวรวงศาธิราช

บุญศรี
พระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา
ครองราชย์พ.ศ. 2091
รัชสมัย42 วัน
รัชกาลก่อนหน้าพระยอดฟ้า
รัชกาลถัดไปสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ประสูติไม่ปรากฏ
สวรรคตพ.ศ. 2091
ถูกลอบปลงพระชนม์
พระมเหสีนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
พระราชบุตรพระธิดาไม่ปรากฏพระนาม 1 พระองค์

ขุนวรวงศาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์ไทยไม่นับว่าพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์เพราะถือว่าเป็นกบฏสมคบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์แย่งชิงราชบัลลังก์จากพระยอดฟ้า อย่างไรก็ตาม ในพงศาวดารได้ระบุว่าพระองค์ได้ผ่านพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว

พระราชประวัติ

ขุนวรวงศาธิราชเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ ในตระกูลอำมาตย์ พระนามเดิมว่าว่า บุญศรี[1] เดิมมีตำแหน่งเป็น พันบุตรศรีเทพ ผู้เฝ้าหอพระข้างหน้า[2] มีหน้าที่เป็นผู้กระทำพิธีการต่าง ๆ

บางทฤษฎีเชื่อว่าพระองค์เป็นบุตรหรือมีเชื้อสายสืบทอดมาจากเจ้าเมืองศรีเทพอันเป็นเมืองลูกหลวงสมัยราชวงศ์อู่ทองครองกรุงศรีอยุธยา [3]

การพบกับนางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์

วันหนึ่งในรัชสมัยพระยอดฟ้า นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ซึ่งเป็นพระราชชนนีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ได้เสด็จไปพระที่นั่งพิมานรัถยาหอพระข้างหน้า ทอดพระเนตรเห็นพันบุตรศรีเทพก็เกิดมีความรักใคร่ จึงสั่งให้สาวใช้เอาเมี่ยงหมากห่อผ้าไปพระราชทานให้ พันบุตรศรีเทพก็เข้าใจว่าพระนางมีใจรักจึงเอาดอกจำปาให้สาวใช้นำไปถวาย ท้าวศรีสุดาจันทร์ก็ยิ่งมีความกำหนัดในตัวพันบุตรศรีเทพ[2]

การเลื่อนบรรดาศักดิ์

ต่อมานางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ได้ให้พระยาราชภักดีเลื่อนพันบุตรศรีเทพเป็น ขุนชินราช (ในคำให้การชาวกรุงเก่าเรียกว่า ขุนเชียรราช) ผู้รักษาหอพระข้างใน ส่วนขุนชินราชคนเดิมให้ไปเป็นพันบุตรศรีเทพ จากนั้นขุนชินราชก็ลักลอบเป็นชู้กับท้าวศรีสุดาจันทร์เป็นเวลานาน[2]

ท้าวศรีสุดาจันทร์คิดจะแย่งชิงราชบัลลังก์ให้กับขุนชินราช จึงให้พระยาราชภักดีเลื่อนบรรดาศักดิ์ขุนชินราชเป็น ขุนวรวงศาธิราช เพื่อเป็นการเพิ่มอำนาจ นอกจากนั้นยังให้ปลูกจวนอยู่ริมศาลาสารบัญชีกับจวนสำหรับขุนวรวงศาธิราชว่าราชการอยู่ที่ประตูดินริมต้นหมัน ให้พิจารณาเลขสังกัดสมพรรค์ แล้วให้เตียงอันเป็นพระราชอาสน์ให้ขุนวรวงศาธิราชนั่งเพื่อให้ขุนนางทั้งหลายมีความยำเกรง

เมื่อเกิดเหตุการณ์นี้ พระยามหาเสนาได้พูดกับพระยาราชภักดีว่า"เมื่อแผ่นดินเป็นทุรยศฉะนี้ เราจะคิดประการใด" แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ทรงทราบจึงให้พระยามหาเสนามาเข้าเฝ้าที่ประตูดิน จนเวลาค่ำพระยามหาเสนากลับออกไป มีผู้มาแทงพระยามหาเสนาตาย ก่อนตายพระยามหาเสนากล่าวว่า "เมื่อเราเป็นดั่งนี้แล้ว ผู้อยู่ภายหลังจะเป็นประการใดเล่า"[2]

การขึ้นครองราชย์

ในพ.ศ. 2091 นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ทรงอ้างว่าพระยอดฟ้ายังทรงพระเยาว์ หัวเมืองฝ่ายเหนือก็ไม่เป็นปกติจึงปรึกษากับขุนนางว่าจะให้ขุนวรวงศาธิราชว่าราชการแผ่นดินจนกว่าพระยอดฟ้าจะทรงเจริญพระชนมายุ จึงทำพิธีราชาภิเษกขุนวรวงศาธิราชเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาและสถาปนานายจัน น้องชายขุนวรวงศาธิราชอยู่บ้านมหาโลก ขึ้นเป็นพระมหาอุปราช[2]

เมื่อขุนวรวงศาธิราชได้ครองราชบัลลังก์ก็สมคบกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์นำพระยอดฟ้าไปสำเร็จโทษที่วัดโคกพระยา เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 8 ตรงกับวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091[4] ปีจอ จ.ศ. 910 (พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศว่าตรงกับปีฉลู พ.ศ. 2072[2]) ส่วนพระศรีศิลป์ พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระไชยราชาธิราชที่ประสูติแต่ท้าวศรีสุดาจันทร์นั้นไม่ได้นำไปสำเร็จโทษแต่ให้เลี้ยงไว้

การล้มล้างราชบัลลังก์

การครองราชบัลลังก์ของขุนวรวงศาธิราชนั้น ไม่เป็นที่เห็นชอบของขุนนางในราชสำนักและพระญาติวงศ์บางส่วน เพราะขุนวรวงศาธิราชทรงขึ้นครองบัลลังก์โดยไม่ชอบธรรมจึงมีขุนนางบางคนรวมตัวกันเพื่อล้มล้างราชบัลลังก์ ได้แก่ ขุนพิเรนทรเทพ เจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วง ขุนอินทรเทพ หมื่นราชเสน่หา (ในราชการ) และหลวงศรียศบ้านลานตากฟ้า

ทั้งสี่ร่วมกันวางแผนลอบปลงพระชนม์ จนโอกาสมาถึงเมื่อกรมการเมืองลพบุรีกราบทูลขุนวรวงศาธิราชว่า มีช้างเผือกเชือกหนึ่งที่ลพบุรี ขุนวรวงศาธิราชรับสั่งว่าจะไปจับแต่ต่อมาเปลี่ยนพระทัยให้กรมการเมืองลพบุรีไปจับแทน หลังจากนั้น 7 วันช้างเผือกเข้ามาทางวัดแม่นางปลื้มเข้าเพนียดวัดซองพระองค์จึงรับสั่งว่าหนนี้จะเสด็จไปจับเอง

ขุนพิเรนทรเทพสั่งให้หมื่นราชเสน่หา (นอกราชการ) ไปดักยิงอุปราชจันน้องขุนวรวงศาธิราชตายที่ท่าเสื่อระหว่างขี่ช้างไปเพนียด จากนั้น ขุนพิเรนทรเทพได้เรียกพระยาพิชัยกับพระยาสวรรคโลก ข้าราชการเมืองเหนือลงมาร่วมมือในการก่อการครั้งนี้ด้วย

ขุนวรวงศาธิราชประทับนั่งเรือพระที่นั่งไปกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และพระธิดา (บางตำราว่าพระโอรส) ที่เกิดด้วยกันและพระศรีศิลป์ ดังนั้น ขุนวรวงศาธิราชจึงทรงถูกลอบปลงพระชนม์ที่คลองสระบัว ข้างคลองปลาหมอโดยขุนพิเรนทรเทพกับสมัครพรรคพวก (ในบันทึกของเจอเรมิส วันวลิต บอกว่าถูกลอบยิงด้วยปืนที่ข้างประตูวัง) พร้อมท้าวศรีสุดาจันทร์และพระธิดา พระบรมศพนั้นถูกนำไปเสียบประจานไว้ที่วัดแร้ง[2] พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศว่าทรงครองราชย์ได้ 5 เดือน แต่คำให้การชาวกรุงเก่าว่า 2 ปี สวรรคตเมื่อพระชนมายุได้ 22 พรรษา[1]

พระราชกิจ

  • ข้าราชการหัวเมืองเหนือทั้ง 7 มีความกระด้างกระเดื่องต่อขุนวรวงศาธิราช จึงให้สมุหนายกมีหมายเรียกข้าราชการหัวเมืองเหนือลงมาที่กรุงศรีอยุธยา
  • เมื่อขุนวรวงศาธิราชได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ก็ให้เอาพงศาวดารเก่า ๆ เผาไฟเสียบ้าง ด้วยเหตุนี้พงศาวดารเก่า ๆ จึงขาดเป็นตอน ๆ [1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 คำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 492-496
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) , นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553, หน้า 64-7
  3. [1] เทปสนทนาเรื่อง กำเนิดอยุธยาและวาระสุดท้ายสุริโยทัย, "คุยกันจันทร์ถึงศุกร์ กับ วีระ ธีรภัทร" โดย วีระ ธีรภัทร และ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ทางตรินิตี้เรดิโอ F.M. 97.00 Mhz
  4. มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา (2554). นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย (PDF). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. p. 98.

ดูเพิ่ม

ก่อนหน้า ขุนวรวงศาธิราช ถัดไป
พระยอดฟ้า
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 2089 - พ.ศ. 2091)

พระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา
((พ.ศ. 2091)
(มิได้เทียบเทียมเท่ากษัตริย์องค์อื่น) )
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 2091 - พ.ศ. 2111)