ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวัสดิ์ คำประกอบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 58: บรรทัด 58:


== งานการเมือง ==
== งานการเมือง ==
อดีตเคยเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองนครสวรรค์ ก่อนที่จะลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน [[พ.ศ. 2489]] และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง [[พ.ศ. 2535]] ก่อนที่จะวางมือทางการเมืองและถึงแก่กรรมในเวลาต่อมา <ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1335513858&grpid=01&catid=01 คำบอกเล่าจากปาก สวัสดิ์ คำประกอบ บุรุษ 4 แผ่นดิน เล่าเรื่องปฏิวัติ 2475 เห็นกับตาได้ยินกับหู...]</ref>
อดีตเคยเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองนครสวรรค์ ก่อนที่จะลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน [[พ.ศ. 2489]] และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง [[พ.ศ. 2535]] ก่อนที่จะวางมือทางการเมืองและถึงแก่อสัญกรรมในเวลาต่อมา <ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1335513858&grpid=01&catid=01 คำบอกเล่าจากปาก สวัสดิ์ คำประกอบ บุรุษ 4 แผ่นดิน เล่าเรื่องปฏิวัติ 2475 เห็นกับตาได้ยินกับหู...]</ref>


สวัสดิ์ คำประกอบ เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีใน 8 คณะรัฐมนตรี ครั้งแรกในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม (ครม.26) พ.ศ. 2500
สวัสดิ์ คำประกอบ เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีใน 8 คณะรัฐมนตรี ครั้งแรกในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม (ครม.26) พ.ศ. 2500

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:04, 28 มิถุนายน 2558

สวัสดิ์ คำประกอบ
ไฟล์:สวัสดิ์ คำประกอบ.jpg
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ดำรงตำแหน่ง
17 เมษายน พ.ศ. 2535 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2535
นายกรัฐมนตรีพลเอก สุจินดา คราประยูร
ก่อนหน้าประภาศน์ อวยชัย
ถัดไปวิเชียร วัฒนคุณ
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
นายกรัฐมนตรีพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
ดำรงตำแหน่ง
7 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 – 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
นายกรัฐมนตรีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
ดำรงตำแหน่ง
14 ธันวาคม พ.ศ. 2533 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
นายกรัฐมนตรีพลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ดำรงตำแหน่ง
8 มกราคม พ.ศ. 2519 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519
นายกรัฐมนตรีม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ก่อนหน้าประชุม รัตนเพียร
ถัดไปทวี จุลละทรัพย์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ดำรงตำแหน่ง
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 – 13 มีนาคม พ.ศ. 2518
นายกรัฐมนตรีม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
ก่อนหน้าหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์
ถัดไปทวิช กลิ่นประทุม
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด23 ตุลาคม พ.ศ. 2462
อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์
เสียชีวิต28 กันยายน พ.ศ. 2557 (94 ปี)
อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
คู่สมรสมะลิ คำประกอบ

นายสวัสดิ์ คำประกอบ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 28 กันยายน พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 12 สมัย

ประวัติ

สวัสดิ์ คำประกอบ เกิดเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2462 สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[1] สมรสกับ นางมะลิ คำประกอบ มีบุตรชาย 3 คน คือ นายภานุวัฒน์ คำประกอบ, นายวีระกร คำประกอบ และ นายดิสทัต คำประกอบ

สวัสดิ์ คำประกอบ ถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคปอดอักเสบ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557 สิริอายุรวม 94 ปี[2]

งานการเมือง

อดีตเคยเป็นนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองนครสวรรค์ ก่อนที่จะลงรับสมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2489 และได้รับเลือกเรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2535 ก่อนที่จะวางมือทางการเมืองและถึงแก่อสัญกรรมในเวลาต่อมา [3]

สวัสดิ์ คำประกอบ เคยได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีใน 8 คณะรัฐมนตรี ครั้งแรกในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม (ครม.26) พ.ศ. 2500

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

สวัสดิ์ คำประกอบ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 12 สมัย คือ

  1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป สิงหาคม พ.ศ. 2489 จังหวัดนครสวรรค์
  2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 จังหวัดนครสวรรค์
  3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคเสรีมนังคศิลา
  4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 จังหวัดนครสวรรค์ ไม่สังกัดพรรคการเมือง
  5. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคสหประชาไทย
  6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคเกษตรสังคม
  7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคเกษตรสังคม
  8. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคเกษตรสังคม
  9. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคกิจสังคม
  10. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)พรรคเอกภาพ
  11. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคสามัคคีธรรม
  12. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคชาติไทย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง