ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษามอร์ดวินิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
WapBot (คุย | ส่วนร่วม)
บอต: แทนที่หมวดหมู่ ตระกูลภาษายูราลิก ด้วย ตระกูลภาษาอูราล
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศรัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษายูราลิก]]
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอูราล]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:23, 16 มิถุนายน 2558

กลุ่มภาษามอร์ดวินิก (Mordvinic languages)[1] เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษายูราลิก ประกอบด้วยภาษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกันคือภาษาเอิร์สยาและภาษามอคชา[2] ทั้งสองภาษานี้เคยถูกจัดเป็นภาษาเดียวกันในชื่อภาษามอร์ดวิน",[3] [4] แต่ปัจจุบันยกระดับขึ้นเป็นกลุ่มของภาษา เพราะทั้งสองภาษานั้นมีความแตกต่างทางด้านสัทวิทยา รากศัพท์และไวยากรณ์ ผู้พูดภาษามอคชาและภาษาเอิร์สยาไม่สามารถเข้าใจกันได้ทั้งหมด และนิยมใช้ภาษารัสเซียในการสื่อสารระหว่างกลุ่ม[5]

ทั้งสองภาษานี้ต่างมีระบบการเขียนเป็นของตนเอง โดยระบบการเขียนของภาษาเอิร์สยาเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2465 ส่วนภาษามอคชาเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2466[6] ชื่อเป็นทางการของภาษานี้ในภาษารัสเซียคือกลุ่มภาษามอร์ดวิเนียน(รัสเซีย: Mordovskie yazyki)[7]

อ้างอิง

  1. Bright, William (1992). International Encyclopedia of Linguistics. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-505196-4.
  2. Grenoble, Lenore (2003). Language Policy in the Soviet Union. Springer. p. A80. ISBN 978-1-4020-1298-3.
  3. Raun, Alo (1988). Sinor, Denis (บ.ก.). The Uralic languages: Description, history and foreign influences. BRILL. p. A96. ISBN 978-90-04-07741-6.
  4. Mordvin languages @ google books
  5. Minahan, James (2000). One Europe, Many Nations. Greenwood Publishing Group. p. A489. ISBN 978-0-313-30984-7.
  6. Wixman, Ronald (1984). The Peoples of the USSR. M.E. Sharpe. p. A137. ISBN 978-0-87332-506-6.
  7. Dalby, Andrew (1998). Dictionary of Languages. Columbia University Press.