ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขาคากาโบราซี"

พิกัด: 28°19′59″N 97°28′00″E / 28.33306°N 97.46667°E / 28.33306; 97.46667
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Flag of Kachin State.svg|thumb|ภาพยอดเขาคากาโบราซี ในธงใหม่ของ[[รัฐกะฉิ่น]]]]
[[ไฟล์:Flag of Kachin State.svg|thumb|ภาพยอดเขาคากาโบราซี ในธงใหม่ของ[[รัฐกะฉิ่น]]]]
'''ยอดเขาคากาโบราซี''' ({{lang-my|ခါကာဘိုရာဇီ}}; [[MLCTS]]: Hkakabo Razi; {{zh|s=开加博峰|t=開加博峰|p=Kāijiābó Fēng}}) ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของ[[ประเทศพม่า]] ใน[[จังหวัดปูเตา]] [[รัฐกะฉิ่น]] ติดกับพรมแดน[[ประเทศจีน]] เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ซึ่งยอดคากาโบราซี มีความสูงถึง 5,881 เมตร (19,295 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล บนยอดเขามี[[หิมะ]]ปกคลุมรวมทั้งมี[[ธารน้ำแข็ง]]อีกด้วย ยอดเขาคากาโบราซีเป็นส่วนหนึ่งของ[[เทือกเขาหิมาลัย]]ทางด้านตะวันออก
'''ยอดเขาคากาโบราซี''' ({{lang-my|ခါကာဘိုရာဇီ}}; [[MLCTS]]: Hkakabo Razi; {{zh|s=开加博峰|t=開加博峰|p=Kāijiābó Fēng}}) ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของ[[ประเทศพม่า]] ใน[[จังหวัดปูเตา]] [[รัฐกะฉิ่น]] ติดกับพรมแดน[[ประเทศจีน]] เป็นส่วนหนึ่งของ[[เทือกเขาหิมาลัย]]ทางด้านตะวันออก ยอดเขาคากาโบราซีเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีความสูง 5,881 เมตร (19,295 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล บนยอดเขามี[[หิมะ]]ปกคลุมรวมทั้งมี[[ธารน้ำแข็ง]]


ยอดเขาคากาโบราซี เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติคากาโบราซี โดยคำว่า "คากาโบราซี" จากภาษาทะรองและ[[ภาษาราวาง]] คำว่า "คากาโบ" หมายถึง "แม่ไก่ที่กางปีกปกป้องลูก" ซึ่งตรงกับลักษณะการทอดตัวของยอดเขาลูกนี้ ส่วนคำว่า "ราซี" เป็นภาษาราวางแปลว่า "ภูเขา"
ยอดเขาคากาโบราซี เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติคากาโบราซี โดยคำว่า "คากาโบราซี" จากภาษาทะรองและ[[ภาษาราวาง]] คำว่า "คากาโบ" หมายถึง "แม่ไก่ที่กางปีกปกป้องลูก" ซึ่งตรงกับลักษณะการทอดตัวของยอดเขาลูกนี้ ส่วนคำว่า "ราซี" เป็นภาษาราวางแปลว่า "ภูเขา"


ยอดเขาคากาโบราซี มีสภาพเป็นหิมะและน้ำแข็งหนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้มีทัศนียภาพสวยงาม แปลกตาไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่กลับแลดูคล้ายยอดเขาในทวีปยุโรปมากกว่า เมื่อถึงฤดูร้อนน้ำแข็งและหิมะจะละลายทำให้กลายเป็นทะเลสาบบนภูเขาและธารน้ำแข็งจำนวนมาก อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางชีวภาพแตกต่างไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกันด้วย จึงทำให้เป็นที่นิยมของนักวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่นี่ และยังเป็นสถานที่ยอดนิยมสำหรับการปีนเขาอีกด้วย โดยยอดเขาคากาโบราซีได้ถูกปีนพิชิตเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1996 โดยนักปีนเขาชาวญี่ปุ่นและชาวพม่า ใช้เวลาประมาณ 30 วัน<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-10-08/21/|title=ที่นี่ไทยพีบีเอส|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=7nI8BZ1FHRg|title= ข่าวฟ้ายามเย็น 08 10 57 เบรก4|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ฟ้าวันใหม่}}</ref><ref>{{cite book |last=Klieger |first=P. Christiaan |year=2006 |chapter=A Tale of the Tibeto-Burman 'Pygmies' |editor=P. Christiaan Klieger |title=Proceedings of the Tenth Seminar of the IATS, 2003, Volume 2 Tibetan Borderlands |place=Leiden |publisher=Brill Academic Press |isbn=978-90-04-15482-7}}</ref>
ยอดเขาคากาโบราซี มีสภาพเป็นหิมะและน้ำแข็งหนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้มีทัศนียภาพสวยงาม แปลกตาไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่กลับแลดูคล้ายยอดเขาในทวีปยุโรป เมื่อถึงฤดูร้อนน้ำแข็งและหิมะจะละลายทำให้กลายเป็นทะเลสาบบนภูเขาและธารน้ำแข็งจำนวนมาก อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางชีวภาพแตกต่างไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน จึงทำให้เป็นที่นิยมของนักวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่นี่ และยังเป็นสถานที่ยอดนิยมสำหรับการปีนเขา โดยยอดเขาคากาโบราซีได้ถูกปีนพิชิตเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1996 โดยนักปีนเขาชาวญี่ปุ่นและชาวพม่า โดยใช้เวลาประมาณ 30 วัน<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2014-10-08/21/|title=ที่นี่ไทยพีบีเอส|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.youtube.com/watch?v=7nI8BZ1FHRg|title= ข่าวฟ้ายามเย็น 08 10 57 เบรก4|date=8 October 2014|accessdate=9 October 2014|publisher=ฟ้าวันใหม่}}</ref><ref>{{cite book |last=Klieger |first=P. Christiaan |year=2006 |chapter=A Tale of the Tibeto-Burman 'Pygmies' |editor=P. Christiaan Klieger |title=Proceedings of the Tenth Seminar of the IATS, 2003, Volume 2 Tibetan Borderlands |place=Leiden |publisher=Brill Academic Press |isbn=978-90-04-15482-7}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



{{Coord|28|19|59|N|97|28|00|E|display=title}}
{{Coord|28|19|59|N|97|28|00|E|display=title}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:48, 13 มิถุนายน 2558

ภาพยอดเขาคากาโบราซี ในธงใหม่ของรัฐกะฉิ่น

ยอดเขาคากาโบราซี (พม่า: ခါကာဘိုရာဇီ; MLCTS: Hkakabo Razi; จีนตัวย่อ: 开加博峰; จีนตัวเต็ม: 開加博峰; พินอิน: Kāijiābó Fēng) ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของประเทศพม่า ในจังหวัดปูเตา รัฐกะฉิ่น ติดกับพรมแดนประเทศจีน เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัยทางด้านตะวันออก ยอดเขาคากาโบราซีเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความสูง 5,881 เมตร (19,295 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล บนยอดเขามีหิมะปกคลุมรวมทั้งมีธารน้ำแข็ง

ยอดเขาคากาโบราซี เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติคากาโบราซี โดยคำว่า "คากาโบราซี" จากภาษาทะรองและภาษาราวาง คำว่า "คากาโบ" หมายถึง "แม่ไก่ที่กางปีกปกป้องลูก" ซึ่งตรงกับลักษณะการทอดตัวของยอดเขาลูกนี้ ส่วนคำว่า "ราซี" เป็นภาษาราวางแปลว่า "ภูเขา"

ยอดเขาคากาโบราซี มีสภาพเป็นหิมะและน้ำแข็งหนาวเย็นตลอดทั้งปี ทำให้มีทัศนียภาพสวยงาม แปลกตาไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่กลับแลดูคล้ายยอดเขาในทวีปยุโรป เมื่อถึงฤดูร้อนน้ำแข็งและหิมะจะละลายทำให้กลายเป็นทะเลสาบบนภูเขาและธารน้ำแข็งจำนวนมาก อีกทั้งยังมีความหลากหลายทางชีวภาพแตกต่างไปจากยอดเขาหรือเทือกเขาอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกัน จึงทำให้เป็นที่นิยมของนักวิทยาศาสตร์ที่เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่นี่ และยังเป็นสถานที่ยอดนิยมสำหรับการปีนเขา โดยยอดเขาคากาโบราซีได้ถูกปีนพิชิตเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1996 โดยนักปีนเขาชาวญี่ปุ่นและชาวพม่า โดยใช้เวลาประมาณ 30 วัน[1] [2][3]

อ้างอิง

  1. "ที่นี่ไทยพีบีเอส". ไทยพีบีเอส. 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 9 October 2014.
  2. "ข่าวฟ้ายามเย็น 08 10 57 เบรก4". ฟ้าวันใหม่. 8 October 2014. สืบค้นเมื่อ 9 October 2014.
  3. Klieger, P. Christiaan (2006). "A Tale of the Tibeto-Burman 'Pygmies'". ใน P. Christiaan Klieger (บ.ก.). Proceedings of the Tenth Seminar of the IATS, 2003, Volume 2 Tibetan Borderlands. Leiden: Brill Academic Press. ISBN 978-90-04-15482-7.

28°19′59″N 97°28′00″E / 28.33306°N 97.46667°E / 28.33306; 97.46667