ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัญชะลี ไพรีรัก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 202.44.135.242 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 27.145.112.225
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Anchalee Paireerak.jpg|thumb|อัญชะลี ไพรีรัก]]


'''อัญชะลี ไพรีรัก''' <ref group=remark>เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ พ.ศ. 2552 ตามความเชื่อเรื่องการเปลี่ยนชื่อเพื่อเสริมดวง</ref> ([[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2505]] ที่[[อำเภอบางบ่อ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]; [[ชื่อเล่น]]: ปอง มาจากคำว่า "ปิงปอง"<ref>''ร้อยข่าวบลูสกาย'' โดย อัญชะลี ไพรีรัก และสันติสุข มะโรงศรี ทางบลูสกายแชนแนล: พฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2556</ref> - ) สื่อมวลชนอิสระ เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในชื่อ "เจ๊ปอง" เป็นผู้มีบทบาทสำคัญทั้งใน[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551]] [[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|และเมื่อปี พ.ศ. 2549]] เมื่อปี พ.ศ. 2551 เป็นผู้จัดรายการเล่าข่าวยามเช้าบนเวทีปราศรัย รวมถึงในช่วงปี [[วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557|พ.ศ. 2556–2557]] เป็นพิธีกรประจำเวทีการชุมนุมของ[[กปปส.]] (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข)

'''อัญชะลี ไพรีรัก''' <ref group=remark>เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ พ.ศ. 2552 ตามความเชื่อเรื่องการเปลี่ยนชื่อเพื่อเสริมดวง</ref> ([[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2505]] ที่[[อำเภอบางบ่อ]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]]; [[ชื่อเล่น]]: ปอง มาจากคำว่า "ปิงปอง"<ref>''ร้อยข่าวบลูสกาย'' โดย อัญชะลี ไพรีรัก และสันติสุข มะโรงศรี ทางบลูสกายแชนแนล: พฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2556</ref> - ) สื่อมวลชนอิสระ เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในชื่อ "เจ๊ปอง" เป็นผู้มีบทบาทสำคัญทั้งใน[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551]] [[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|และเมื่อปี พ.ศ. 2549]] เมื่อปี พ.ศ. 2551


== ประวัติการทำงาน ==
== ประวัติการทำงาน ==
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
จนกระทั่งในต้นปี [[พ.ศ. 2549]] ที่กลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้เริ่มต้น[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|การขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] อย่างจริงจังแล้ว อัญชะลีจึงได้เข้าร่วมและได้ร่วมจัดรายการบนเวทีและใน[[เมืองไทยรายสัปดาห์|รายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร คอนเสิร์ตการเมือง]] คู่กับ[[ยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที]] ในรายการชื่อ "ติดดาบปลายปืน" แต่มิได้เป็นพนักงานใน[[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ|เครือผู้จัดการ]]แต่อย่างใด
จนกระทั่งในต้นปี [[พ.ศ. 2549]] ที่กลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้เริ่มต้น[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|การขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] อย่างจริงจังแล้ว อัญชะลีจึงได้เข้าร่วมและได้ร่วมจัดรายการบนเวทีและใน[[เมืองไทยรายสัปดาห์|รายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร คอนเสิร์ตการเมือง]] คู่กับ[[ยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที]] ในรายการชื่อ "ติดดาบปลายปืน" แต่มิได้เป็นพนักงานใน[[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ|เครือผู้จัดการ]]แต่อย่างใด


หลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารเมื่อปี 2549]] ได้เดินทางไปเรียนต่อที่[[ประเทศออสเตรเลีย]]ได้ระยะหนึ่ง จึงเดินทางกลับมา จากนั้นใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550]] อัญชลีได้ลงสมัครรับเลือกตั้งใน จังหวัดสมุทรปราการ สังกัด[[พรรคเพื่อแผ่นดิน]] อันเนื่องความสัมพันธ์ส่วนตัวที่มีกับแกนนำพรรค แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง

ใน[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551]] อัญชะลีได้กลับมาร่วมชุมนุมอีกครั้ง โดยเป็นผู้จัดรายการเล่าข่าวตอนเช้าบนเวทีคู่กับ[[กมลพร วรกุล]] ภายหลังการชุมนุมยุติลงก็ได้ทำหน้าที่เป็นพิธีกรรายการเคาะข่าวริมโขงและแขกรับเชิญรายการสภาท่าพระอาทิตย์ทุกวันจันทร์และศุกร์ และมีรายการประจำ ชื่อ "จับตาประเทศไทย" ออกอากาศทุกคืน[[วันอาทิตย์]] 20.30 - 21.00 น.ทาง [[เอเอสทีวี]] เป็นรายการเล่าข่าวทั่วไป


ต่อมา อัญชะลีได้ยุติรายการทั้งหมดทางเอเอสทีวี และสื่อต่าง ๆ ในเครือผู้จัดการหมดแล้ว โดยมีเสียงร่ำลือกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้ออกไปทำงานส่วนตัว และเป็นเลขานุการให้กับ นาย[[จุติ ไกรฤกษ์]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] <ref>[http://www.thaiindexnews.com/2011/02/19.html ทำไม "ม็อบแดง" เติบโต ทำไม "ม็อบเหลือง" ถดถอย จับตา 19 ก.พ. "สึนามิแดง" มาแล้ว]</ref> ส่วนอีกกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้เป็นบรรณาธิการให้กับนิตยสารท่องเที่ยว<ref>[http://onknow.blogspot.com/2011/02/19-2554.html ทำไม ปอง อัญชะลี หายไปจากเวทีพันธมิตร (19 ก.พ.2554)]</ref>
ต่อมา อัญชะลีได้ยุติรายการทั้งหมดทางเอเอสทีวี และสื่อต่าง ๆ ในเครือผู้จัดการหมดแล้ว โดยมีเสียงร่ำลือกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้ออกไปทำงานส่วนตัว และเป็นเลขานุการให้กับ นาย[[จุติ ไกรฤกษ์]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] <ref>[http://www.thaiindexnews.com/2011/02/19.html ทำไม "ม็อบแดง" เติบโต ทำไม "ม็อบเหลือง" ถดถอย จับตา 19 ก.พ. "สึนามิแดง" มาแล้ว]</ref> ส่วนอีกกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้เป็นบรรณาธิการให้กับนิตยสารท่องเที่ยว<ref>[http://onknow.blogspot.com/2011/02/19-2554.html ทำไม ปอง อัญชะลี หายไปจากเวทีพันธมิตร (19 ก.พ.2554)]</ref>
บรรทัด 17: บรรทัด 20:
อัญชะลีเคยเป็นผู้จัดรายการ "ร้อยข่าวบลูสกาย" และ"ร้อยข่าวสุดสัปดาห์" ทาง[[บลูสกายแชนแนล]]
อัญชะลีเคยเป็นผู้จัดรายการ "ร้อยข่าวบลูสกาย" และ"ร้อยข่าวสุดสัปดาห์" ทาง[[บลูสกายแชนแนล]]


ปัจจุบัน อัญชะลีได้ร่วมงานกับสถานีโทรทัศน์[[นิวทีวี]] ในเครือ[[เดลินิวส์|หนังสือพิมพ์เดลินิวส์]] โดยเป็นผู้ดำเนินรายการ "หมายข่าวนิวทีวี" ออกอากาศในช่วงเย็น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ [[4 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2557]] <ref>[http://www2.manager.co.th/mwebboard/listComment.aspx?Mbrowse=6&QNumber=370920 "เจ๊ปอง อัญชะลี" คืนจอ นั่งแทนพิธีกรข่าวช่อง18 "นิวทีวี"], จากเว็บบอร์ด[[ผู้จัดการออนไลน์]].</ref>


==วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557==
==วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:18, 9 มิถุนายน 2558

อัญชะลี ไพรีรัก

อัญชะลี ไพรีรัก [remark 1] (25 ตุลาคม พ.ศ. 2505 ที่อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ; ชื่อเล่น: ปอง มาจากคำว่า "ปิงปอง"[1] - ) สื่อมวลชนอิสระ เป็นผู้ที่รู้จักกันดีในชื่อ "เจ๊ปอง" เป็นผู้มีบทบาทสำคัญทั้งในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 และเมื่อปี พ.ศ. 2549 เมื่อปี พ.ศ. 2551 เป็นผู้จัดรายการเล่าข่าวยามเช้าบนเวทีปราศรัย รวมถึงในช่วงปี พ.ศ. 2556–2557 เป็นพิธีกรประจำเวทีการชุมนุมของกปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข)

ประวัติการทำงาน

ในปี พ.ศ. 2539 ได้เป็นพิธีกรแทนบุญยอด สุขถิ่นไทย ทางรายการ "กู๊ด มอร์นิ่ง บางกอก" ที่ลาหยุดไปเนื่องจากป่วย 2 วัน

อัญชะลี ไพรีรักเริ่มเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในช่วงรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยความเป็นนักจัดรายการวิทยุที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลอย่างตรงไป ตรงมา และมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ซึ่งในตอนนั้นอัญชะลีจัดรายการวิทยุอยู่ที่คลื่น F.M. 96.5 MHz รายการ "จับชีพจรข่าว"

ต่อมาได้ถูกยุติการทำรายการ เนื่องจากถูกแทรกแซง จึงได้รับการเชื้อเชิญจากนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เจ้าของธุรกิจทีพีไอ ให้มาทำวิทยุคลื่นประชาธิปไตย F.M. 92.25 MHz โดยเป็นผู้ริเริ่ม ทั้งวางผังและจัดรายการเองทั้งหมด แต่ต่อมาก็ถูกแทรกแซงอีกครั้ง จนต้องลาออกมา

จนกระทั่งในต้นปี พ.ศ. 2549 ที่กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้เริ่มต้นการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อย่างจริงจังแล้ว อัญชะลีจึงได้เข้าร่วมและได้ร่วมจัดรายการบนเวทีและในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร คอนเสิร์ตการเมือง คู่กับยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที ในรายการชื่อ "ติดดาบปลายปืน" แต่มิได้เป็นพนักงานในเครือผู้จัดการแต่อย่างใด

หลังการรัฐประหารเมื่อปี 2549 ได้เดินทางไปเรียนต่อที่ประเทศออสเตรเลียได้ระยะหนึ่ง จึงเดินทางกลับมา จากนั้นในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อัญชลีได้ลงสมัครรับเลือกตั้งใน จังหวัดสมุทรปราการ สังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน อันเนื่องความสัมพันธ์ส่วนตัวที่มีกับแกนนำพรรค แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง

ในการชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551 อัญชะลีได้กลับมาร่วมชุมนุมอีกครั้ง โดยเป็นผู้จัดรายการเล่าข่าวตอนเช้าบนเวทีคู่กับกมลพร วรกุล ภายหลังการชุมนุมยุติลงก็ได้ทำหน้าที่เป็นพิธีกรรายการเคาะข่าวริมโขงและแขกรับเชิญรายการสภาท่าพระอาทิตย์ทุกวันจันทร์และศุกร์ และมีรายการประจำ ชื่อ "จับตาประเทศไทย" ออกอากาศทุกคืนวันอาทิตย์ 20.30 - 21.00 น.ทาง เอเอสทีวี เป็นรายการเล่าข่าวทั่วไป

ต่อมา อัญชะลีได้ยุติรายการทั้งหมดทางเอเอสทีวี และสื่อต่าง ๆ ในเครือผู้จัดการหมดแล้ว โดยมีเสียงร่ำลือกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้ออกไปทำงานส่วนตัว และเป็นเลขานุการให้กับ นายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร [2] ส่วนอีกกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้เป็นบรรณาธิการให้กับนิตยสารท่องเที่ยว[3]

อัญชะลีเคยเป็นผู้จัดรายการ "ร้อยข่าวบลูสกาย" และ"ร้อยข่าวสุดสัปดาห์" ทางบลูสกายแชนแนล

ปัจจุบัน อัญชะลีได้ร่วมงานกับสถานีโทรทัศน์นิวทีวี ในเครือหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ โดยเป็นผู้ดำเนินรายการ "หมายข่าวนิวทีวี" ออกอากาศในช่วงเย็น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557 [4]

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557

ในวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557 อัญชะลีได้เข้าร่วมกับการชุมนุมของกปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข) โดยมีบทบาทเป็นโฆษกบนเวทีชุมนุม และผู้บรรยายในการเดินรณรงค์การชุมนุมตามถนนสายต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร รวมถึงยังเป็นแกนนำเองด้วยในหลายครั้งทีี่มีการเคลื่อนขบวนไปชุมนุมยังที่ต่าง ๆ[5]

นอกจากนี้แล้ว ยังได้ถ่ายแบบลงปกนิตยสารแพราว และให้สัมภาษณ์ถึงความในใจด้วย สำหรับการชุมนุมในครั้งนี้[6]

ต่อมาในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จากการชุมนุมในครั้งนี้ ศาลอาญาอนุมัติหมายจับแกนนำ กปปส. รวม 43 คน ผู้ต้องหาคดีกบฏ และความผิดอื่น รวม 8 ข้อหา เพื่อติดตามตัวมาดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย โดยอัญชะลีมีชื่อเป็นผู้ต้องหาหมายเลขที่ 10[7] [8]

เชิงอรรถ

  1. เดิมชื่อ อัญชลี ไพรีรัก ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตัวเป็น "อัญชะลี" เมื่อ พ.ศ. 2552 ตามความเชื่อเรื่องการเปลี่ยนชื่อเพื่อเสริมดวง

อ้างอิง

  1. ร้อยข่าวบลูสกาย โดย อัญชะลี ไพรีรัก และสันติสุข มะโรงศรี ทางบลูสกายแชนแนล: พฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2556
  2. ทำไม "ม็อบแดง" เติบโต ทำไม "ม็อบเหลือง" ถดถอย จับตา 19 ก.พ. "สึนามิแดง" มาแล้ว
  3. ทำไม ปอง อัญชะลี หายไปจากเวทีพันธมิตร (19 ก.พ.2554)
  4. "เจ๊ปอง อัญชะลี" คืนจอ นั่งแทนพิธีกรข่าวช่อง18 "นิวทีวี", จากเว็บบอร์ดผู้จัดการออนไลน์.
  5. ""เจ๊ปอง" ลั่นกบฏดอกไม้ กปปส.ปักหลักชุมนุมหน้าบ้าน "ปู" จนกว่าไขก๊อกนายกฯ". ผู้จัดการออนไลน์. 26 ธันวาคม 2556. สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "เจ๊ปอง อัญชะลี ไพรีรัก แกนนำ กปปส. เปลี่ยนลุคเป็นนางแบบราชดำเนิน". สนุกดอตคอม. 10 มกราคม 2557. สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. "ศาลอาญาอนุมัติหมายจับ 30 แกนนำ กปปส. ที่เหลือยกคำร้อง". Thairath.co.th. 14 พฤษภาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. "ศาลอนุมัติออกหมายจับแกนนำ กปปส. 30 ราย-ยกคำร้อง 13". Posttoday.com. 14 พฤษภาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น