ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำสาย"

พิกัด: 20°27′52″N 99°57′17″E / 20.464444°N 99.954722°E / 20.464444; 99.954722
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชื่อเดิมคือ น้ำแม่ละว้า ตามราชวงศ์ปกรณ์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 88: บรรทัด 88:
}}
}}


'''แม่น้ำสาย''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-river-Sai.png|50px]]}}) เป็นแม่น้ำสายสำคัญที่เป็นสัญลักษณ์ของ[[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]] มีความยาวรวมทั้งหมด 30 กิโลเมตร<ref name="หอมรดก"/> มีความยาวในประเทศไทย 15 กิโลเมตร<ref name="ทหาร">{{cite web |url=http://heritage.mod.go.th/nation/oldcity/chiangrai3.htm|title=แผนกเขตแดนไทย-พม่า|author=|date=|work=|publisher=กรมแผนที่ทหาร|accessdate=21 ธันวาคม 2557}}</ref>
'''แม่น้ำสาย''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:Lanna-river-Sai.png|50px]]}}) เดิมเรียกว่า '''แม่น้ำละว้า''' (น้ำแม่ละว้า)<ref>สงวน โชติสุขรัตน์. ''ประชุมตำนานล้านนาไทย''. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2556, หน้า 112</ref> เป็นแม่น้ำสายสำคัญที่เป็นสัญลักษณ์ของ[[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]] มีความยาวรวมทั้งหมด 30 กิโลเมตร<ref name="หอมรดก"/> มีความยาวในประเทศไทย 15 กิโลเมตร<ref name="ทหาร">{{cite web |url=http://heritage.mod.go.th/nation/oldcity/chiangrai3.htm|title=แผนกเขตแดนไทย-พม่า|author=|date=|work=|publisher=กรมแผนที่ทหาร|accessdate=21 ธันวาคม 2557}}</ref>


แม่น้ำสายแห่งนี้เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนทางธรรมชาติที่กั้นระหว่างไทยกับ[[พม่า]]<ref>{{cite web |url=http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=5&page=t32-5-infodetail04.html|title=เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน|author=|date=|work=|publisher=สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|accessdate=21 ธันวาคม 2557}}</ref> ต้นน้ำของแม่น้ำสายอยู่ที่ประเทศพม่าหลังจากนั้นก็ใหลผ่านประเทศไทยระหว่างอำเภอแม่สายกับแขวงท่าขี้เหล็กแล้วก็ไปรวมกับ[[แม่น้ำรวก]]ภายในอำเภอ แม่น้ำหลังจากนั้นก็ใหลผ่านแม่น้ำโขงที่[[อำเภอเชียงแสน]] ชาวบ้านต่างใช้ประโยชน์จากแม่น้ำสายด้านเกษตรกรรม<ref>{{cite web |url=http://www.chiangraifocus.com/2010/travelView.php?id=75&aid=1|title=ต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำสำคัญของจังหวัดเชียงราย|author=|date=|work=|publisher=เชียงรายโฟกัส|accessdate=21 ธันวาคม 2557}}</ref>
แม่น้ำสายแห่งนี้เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนทางธรรมชาติที่กั้นระหว่างไทยกับ[[พม่า]]<ref>{{cite web |url=http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=5&page=t32-5-infodetail04.html|title=เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน|author=|date=|work=|publisher=สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|accessdate=21 ธันวาคม 2557}}</ref> ต้นน้ำของแม่น้ำสายอยู่ที่ประเทศพม่าหลังจากนั้นก็ใหลผ่านประเทศไทยระหว่างอำเภอแม่สายกับแขวงท่าขี้เหล็กแล้วก็ไปรวมกับ[[แม่น้ำรวก]]ภายในอำเภอ แม่น้ำหลังจากนั้นก็ใหลผ่านแม่น้ำโขงที่[[อำเภอเชียงแสน]] ชาวบ้านต่างใช้ประโยชน์จากแม่น้ำสายด้านเกษตรกรรม<ref>{{cite web |url=http://www.chiangraifocus.com/2010/travelView.php?id=75&aid=1|title=ต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำสำคัญของจังหวัดเชียงราย|author=|date=|work=|publisher=เชียงรายโฟกัส|accessdate=21 ธันวาคม 2557}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:22, 6 มิถุนายน 2558

สาย
แม่น้ำ
แม่น้ำสาย ที่แบ่งเขตการปกครองอำเภอแม่สายของประเทศไทย กับเมืองท่าขี้เหล็กของประเทศพม่า
ประเทศ ประเทศไทย, ประเทศพม่า
จังหวัด เชียงราย, ท่าขี้เหล็ก
เมือง ท่าขี้เหล็ก, แม่สาย, เชียงแสน
ต้นกำเนิด แขวงท่าขี้เหล็ก, รัฐฉาน ประเทศพม่า[1]
ปากแม่น้ำ แม่น้ำรวก, อำเภอแม่สาย, จังหวัดเชียงราย
 - ระดับ
ความยาว 30 km (19 mi)

แม่น้ำสาย (ไทยถิ่นเหนือ: ) เดิมเรียกว่า แม่น้ำละว้า (น้ำแม่ละว้า)[2] เป็นแม่น้ำสายสำคัญที่เป็นสัญลักษณ์ของอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย มีความยาวรวมทั้งหมด 30 กิโลเมตร[1] มีความยาวในประเทศไทย 15 กิโลเมตร[3]

แม่น้ำสายแห่งนี้เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนทางธรรมชาติที่กั้นระหว่างไทยกับพม่า[4] ต้นน้ำของแม่น้ำสายอยู่ที่ประเทศพม่าหลังจากนั้นก็ใหลผ่านประเทศไทยระหว่างอำเภอแม่สายกับแขวงท่าขี้เหล็กแล้วก็ไปรวมกับแม่น้ำรวกภายในอำเภอ แม่น้ำหลังจากนั้นก็ใหลผ่านแม่น้ำโขงที่อำเภอเชียงแสน ชาวบ้านต่างใช้ประโยชน์จากแม่น้ำสายด้านเกษตรกรรม[5]

แต่อย่างไรก็ตามแม่น้ำสายและแม่น้ำรวกต่างมีปัญหาการกัดเซาะของแม่น้ำทำให้ลำน้ำเปลี่ยนทิศทาง เกิดแผ่นดินงอกและแผ่นดินหด จึงเป็นเหตุพิพาทเรื่องดินแดนระหว่างไทยและพม่า จนมีข้อตกลงกันในปี พ.ศ. 2483 และการสำรวจร่องน้ำลึกในปี พ.ศ. 2530-31 แต่ทั้งสองฝ่ายต่างประสบปัญหาในการรักษาตลิ่ง[6]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "มรดกทางธรรมชาติ". หอมรดกไทย. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. สงวน โชติสุขรัตน์. ประชุมตำนานล้านนาไทย. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2556, หน้า 112
  3. "แผนกเขตแดนไทย-พม่า". กรมแผนที่ทหาร. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน". สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "ต้นน้ำลำธารและแหล่งน้ำสำคัญของจังหวัดเชียงราย". เชียงรายโฟกัส. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "จุดล่อแหลมไทย-พม่า เขตแดนแม่น้ำสาย-รวก". ข่าวสดออนไลน์. 14 ตุลาคม พ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

20°27′52″N 99°57′17″E / 20.464444°N 99.954722°E / 20.464444; 99.954722