ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เควซาร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ยุบรวมจาก ควอซ่าร์ิ๊
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Blackhole_diagram.jpg|thumb|เควซาร์]]
'''เควซาร์''' (quasar; [[IPA]]: /ˈkweɪzɑr/) เป็นคำย่อของคำว่า ''Quasistellar Radio Sources'' หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แหล่งกำเนิดของคลื่นวิทยุคล้ายกับดวงดาว ถูกค้นพบเมื่อทศวรรษที่ 1960 ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ (Radio Telescope) เริ่มแรกเควซาร์ไม่มีหลักฐานระบุแน่นอนว่าคืออะไร แต่จากที่[[นักดาราศาสตร์]]ได้สำรวจและค้นพบ เควซาร์คือวัตถุที่มี[[แสง]]สว่างเจิดจ้าเป็นอย่างมาก อยู่ห่างไกลจาก[[โลก]]ด้วยระยะทาง 100,000,000 ปีแสง หรือมีระยะทางมากกว่า 60,000,000 ไมล์ เคลื่อนที่ใน[[อวกาศ]]ด้วยความเร็วสูงประมาณ 177,000 ไมล์ต่อ[[วินาที]]ซึ่งเป็นความเร็วเกือบเท่ากับแสง
'''เควซาร์''' หรือ '''ควาซาร์''' (quasar; [[IPA]]: /ˈkweɪzɑr/) เป็นคำย่อของคำว่า ''Quasistellar Radio Sources'' หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แหล่งกำเนิดของคลื่นวิทยุคล้ายกับดวงดาว ถูกค้นพบเมื่อทศวรรษที่ 1960 ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ (Radio Telescope) เริ่มแรกเควซาร์ไม่มีหลักฐานระบุแน่นอนว่าคืออะไร แต่จากที่[[นักดาราศาสตร์]]ได้สำรวจและค้นพบ เควซาร์คือวัตถุที่มี[[แสง]]สว่างเจิดจ้าเป็นอย่างมาก อยู่ห่างไกลจาก[[โลก]]ด้วยระยะทาง 100,000,000 ปีแสง หรือมีระยะทางมากกว่า 60,000,000 ไมล์ เคลื่อนที่ใน[[อวกาศ]]ด้วยความเร็วสูงประมาณ 177,000 ไมล์ต่อ[[วินาที]]ซึ่งเป็นความเร็วเกือบเท่ากับแสง


เควซาร์อยู่ห่างไกลจากโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นวัตถุที่ก่อกำเนิดขึ้นในห้วงอวกาศ ในยุคของการเริ่มแรกแห่งยุค[[ประวัติศาสตร์]]ของ[[เอกภพ]] ซึ่งแสงเจิดจ้าที่ได้รับจากเควซาร์นี้ ได้เดินทางมาในห้วงอวกาศด้วยระยะเวลาหลาย 10,000,000 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก เควซาร์อาจะเดินทางในห้วงอวกาศมายาวนานก่อนที่โลกจะถือกำเนิดขึ้น และจากการศึกษาล่าสุดของนักดาราศาสตร์ได้ระบุว่า เควซาร์คือวัตถุ[[มวล]]ขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายกับ[[ดาวฤกษ์]] คือมีแสงสว่างในตัวเอง แต่เควซาร์แตกต่างจากดาวฤกษ์ตรงที่มีแสงสว่างมากกว่าถึง 1,000 เท่า และไม่สามารถระบุตำแหน่งในห้วงอวกาศได้อย่างแน่นอน เควซาร์อาจจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬารใกล้เคียงกับ[[ระบบสุริยะ]]ของโลกหรือใหญกว่าเป็นหลายร้อยเท่า และหมุนด้วยความเร็วราว 153,000 ไมล์/วินาที (250,000 กิโลเมตร/วินาที) ควอซอร์ อาจจะเป็นแกนของกาแล็กซีใหม่ที่กำลังก่อตัวอยู่ หรืออาจจะเป็นศูนย์กลางของหลุมดำก็ได้
เควซาร์อยู่ห่างไกลจากโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นวัตถุที่ก่อกำเนิดขึ้นในห้วงอวกาศ ในยุคของการเริ่มแรกแห่งยุค[[ประวัติศาสตร์]]ของ[[เอกภพ]] ซึ่งแสงเจิดจ้าที่ได้รับจากเควซาร์นี้ ได้เดินทางมาในห้วงอวกาศด้วยระยะเวลาหลาย 10,000,000 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก เควซาร์อาจะเดินทางในห้วงอวกาศมายาวนานก่อนที่โลกจะถือกำเนิดขึ้น และจากการศึกษาล่าสุดของนักดาราศาสตร์ได้ระบุว่า เควซาร์คือวัตถุ[[มวล]]ขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายกับ[[ดาวฤกษ์]] คือมีแสงสว่างในตัวเอง แต่เควซาร์แตกต่างจากดาวฤกษ์ตรงที่มีแสงสว่างมากกว่าถึง 1,000 เท่า และไม่สามารถระบุตำแหน่งในห้วงอวกาศได้อย่างแน่นอน เควซาร์อาจจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬารใกล้เคียงกับ[[ระบบสุริยะ]]ของโลกหรือใหญกว่าเป็นหลายร้อยเท่า และหมุนด้วยความเร็วราว 153,000 ไมล์/วินาที (250,000 กิโลเมตร/วินาที) เควซาร์ อาจจะเป็นแกนของ[[กาแล็กซี]]ใหม่ที่กำลังก่อตัวอยู่ หรืออาจจะเป็นศูนย์กลางของ[[หลุมดำ]]ก็ได้
{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:47, 15 มิถุนายน 2550

ไฟล์:Blackhole diagram.jpg
เควซาร์

เควซาร์ หรือ ควาซาร์ (quasar; IPA: /ˈkweɪzɑr/) เป็นคำย่อของคำว่า Quasistellar Radio Sources หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แหล่งกำเนิดของคลื่นวิทยุคล้ายกับดวงดาว ถูกค้นพบเมื่อทศวรรษที่ 1960 ด้วยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ (Radio Telescope) เริ่มแรกเควซาร์ไม่มีหลักฐานระบุแน่นอนว่าคืออะไร แต่จากที่นักดาราศาสตร์ได้สำรวจและค้นพบ เควซาร์คือวัตถุที่มีแสงสว่างเจิดจ้าเป็นอย่างมาก อยู่ห่างไกลจากโลกด้วยระยะทาง 100,000,000 ปีแสง หรือมีระยะทางมากกว่า 60,000,000 ไมล์ เคลื่อนที่ในอวกาศด้วยความเร็วสูงประมาณ 177,000 ไมล์ต่อวินาทีซึ่งเป็นความเร็วเกือบเท่ากับแสง

เควซาร์อยู่ห่างไกลจากโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นวัตถุที่ก่อกำเนิดขึ้นในห้วงอวกาศ ในยุคของการเริ่มแรกแห่งยุคประวัติศาสตร์ของเอกภพ ซึ่งแสงเจิดจ้าที่ได้รับจากเควซาร์นี้ ได้เดินทางมาในห้วงอวกาศด้วยระยะเวลาหลาย 10,000,000 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานมาก เควซาร์อาจะเดินทางในห้วงอวกาศมายาวนานก่อนที่โลกจะถือกำเนิดขึ้น และจากการศึกษาล่าสุดของนักดาราศาสตร์ได้ระบุว่า เควซาร์คือวัตถุมวลขนาดใหญ่ที่มีลักษณะคล้ายกับดาวฤกษ์ คือมีแสงสว่างในตัวเอง แต่เควซาร์แตกต่างจากดาวฤกษ์ตรงที่มีแสงสว่างมากกว่าถึง 1,000 เท่า และไม่สามารถระบุตำแหน่งในห้วงอวกาศได้อย่างแน่นอน เควซาร์อาจจะมีขนาดใหญ่โตมโหฬารใกล้เคียงกับระบบสุริยะของโลกหรือใหญกว่าเป็นหลายร้อยเท่า และหมุนด้วยความเร็วราว 153,000 ไมล์/วินาที (250,000 กิโลเมตร/วินาที) เควซาร์ อาจจะเป็นแกนของกาแล็กซีใหม่ที่กำลังก่อตัวอยู่ หรืออาจจะเป็นศูนย์กลางของหลุมดำก็ได้