ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
DanMTaylor (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Religious syms.png|thumb|สัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ]]
[[ไฟล์:Religious syms.png|thumb|สัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ]]


'''ศาสนา''' [[ลัทธิ]][[ความเชื่อ]]ของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลัก[[ศีลธรรม]] ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1142</ref> หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบาย[[ความหมายของชีวิต]] และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับ[[ศีลธรรม]] [[จริยศาสตร์]] กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก<ref>The Everything World's Religions Book: Explore the Beliefs, Traditions and Cultures of Ancient and Modern Religions, page 1 Kenneth Shouler - 2010</ref>
'''ศาสนา''' ({{lang-en|Religion}}) หมายถึง [[ลัทธิ]][[ความเชื่อ]]ของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลัก[[ศีลธรรม]] ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1142</ref> หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบาย[[ความหมายของชีวิต]] และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับ[[ศีลธรรม]] [[จริยศาสตร์]] กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก<ref>The Everything World's Religions Book: Explore the Beliefs, Traditions and Cultures of Ancient and Modern Religions, page 1 Kenneth Shouler - 2010</ref>


นอกจากการนับถือศาสนาแล้ว ยังมีความเชื่อไม่นับถือศาสนาด้วย เรียก '''"[[อศาสนา]]"''' และผู้ไม่นับถือศาสนาเรียก "อศาสนิกชน"
นอกจากการนับถือศาสนาแล้ว ยังมีความเชื่อไม่นับถือศาสนาด้วย เรียก '''"[[อศาสนา]]"''' และผู้ไม่นับถือศาสนาเรียก "อศาสนิกชน"
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}


สำหรับบางภาษา มีการใช้คำว่า''ศาสนา''แตกต่างกันออกไป และบางภาษาไม่มีคำว่า''ศาสนา''โดยสิ้นเชิง เช่น[[ภาษาสันสกฤต]] คำว่า ''ธรรมะ'' (dharma) อาจใช้เทียบเคียงกับศาสนาได้ แต่มีความหมายโดยทั่วไปว่า[[กฎหมาย]]
สำหรับบางภาษา มีการใช้คำว่า''ศาสนา''แตกต่างกันออกไป และบางภาษาไม่มีคำว่า''ศาสนา''โดยสิ้นเชิง เช่น[[ภาษาสันสกฤต]] ใช้คำว่า ''ธรรมะ'' (dharma) อาจใช้เทียบเคียงกับศาสนาได้ แต่มีความหมายโดยทั่วไปว่า[[กฎหมาย]]


== การกำเนิดและการพัฒนา ==
== การกำเนิดและการพัฒนา ==
บรรทัด 33: บรรทัด 33:


=== [[ศาสนาแบบจีน]] ===
=== [[ศาสนาแบบจีน]] ===
* [[ลัทธิเต๋า|ศาสนาเต๋า]]
* [[ลัทธิเต๋า|ศาสนาเต๋า]]
* [[ลัทธิขงจื๊อ|ศาสนาขงจื๊อ]]
* [[ลัทธิขงจื๊อ|ศาสนาขงจื๊อ]]
* [[ลัทธิบัวขาว]]
* [[ลัทธิบัวขาว]]
* [[ลัทธิเซียนเทียนเต้า]]
* [[ลัทธิเซียนเทียนเต้า]]
* [[ลัทธิอนุตตรธรรม]]
* [[ลัทธิอนุตตรธรรม]]


=== [[ศาสนาแบบอิหร่าน]] ===
=== [[ศาสนาแบบอิหร่าน]] ===
บรรทัด 46: บรรทัด 46:


=== ศาสนาญี่ปุ่น ===
=== ศาสนาญี่ปุ่น ===
* ลัทธิ[[ชินโต]]
* ลัทธิ[[ชินโต]]
* [[ลัทธิชอนโดเกียว]]
* [[ลัทธิชอนโดเกียว]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:31, 29 พฤษภาคม 2558

สัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ

ศาสนา (อังกฤษ: Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ[1] หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก[2]

นอกจากการนับถือศาสนาแล้ว ยังมีความเชื่อไม่นับถือศาสนาด้วย เรียก "อศาสนา" และผู้ไม่นับถือศาสนาเรียก "อศาสนิกชน"

ความหมายเชิงนิรุกติศาสตร์

สำหรับบางภาษา มีการใช้คำว่าศาสนาแตกต่างกันออกไป และบางภาษาไม่มีคำว่าศาสนาโดยสิ้นเชิง เช่นภาษาสันสกฤต ใช้คำว่า ธรรมะ (dharma) อาจใช้เทียบเคียงกับศาสนาได้ แต่มีความหมายโดยทั่วไปว่ากฎหมาย

การกำเนิดและการพัฒนา

การกำเนิดของศาสนานั้นไม่แน่นอน มีหลายทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของวัตรศาสนาจัดตั้ง (organized religious practice)

John Monaghan และ Peter Just นักมานุษยวิทยา กล่าวว่า "ศาสนาใหญ่ของโลกหลายศาสนาดูเริ่มต้นเป็นขบวนการคืนชีวิต (revitalization) บางแบบ โดยวิสัยทัศน์ของศาสดาผู้เปี่ยมบารมีจุดจินตนาการของผู้แสวงคำตอบครอบคลุมยิ่งขึ้นของปัญหาของเขามากกว่าที่รู้สึกว่าความเชื่อประจำวันให้ได้ ปัจเจกบุคคลผู้มีบารมีอุบัติขึ้นหลายกาละและเทศะในโลก ดูเหมือนว่าปัจจัยสู่ความสำเร็จระยะยาว และหลายขบวนการมาแล้วไปโดยมีผลระยะยาวเล็กน้อย สัมพันธ์กับศาสดาน้อย ซึ่งปรากฏด้วยความสม่ำเสมอน่าประหลาดใจ แต่สัมพันธ์มากกว่ากับพัฒนาการของกลุ่มผู้สนับสนุนซึ่งสามารถจัดตั้งขบวนการนั้นเป็นสถาบัน"

การพัฒนาศาสนามีหลายแบบในหลายวัฒนธรรม บางศาสนาเน้นความเชื่อ ฝ่ายบางศาสนาเน้นวัตร บางศาสนาเน้นประสบการณ์อัตวิสัยของศาสนิกชน ฝ่ายบางศาสนาถือกิจกรรมของชุมชนศาสนาสำคัญที่สุด บางศาสนาอ้างว่าเป็นนสากล โดยเชื่อว่ากฎหมายและจักรวาลวิทยาของศาสนานั้นผูกมัดทุกคน ฝ่ายบางศาสนาตั้งใจให้ปฏิบัติเฉพาะในกลุ่มนิยามหรือจำกัดแคบ ๆ ในหลายพื้นที่ ศาสนาสัมพันธ์กับสถาบันสาธารณะอย่างการศึกษา โรงพยาบาล ครอบครัว รัฐบาลและลำดับชั้นบังคับบัญชาทางการเมือง

กลุ่มศาสนา

ศาสนาอับราฮัม

เป็นคำที่ใช้เรียกศาสนาสำคัญ 4 ศาสนาที่เป็นลัทธิเทวนิยมที่มีความเชื่อในพระเจ้าองค์เดียว —ซึ่งทั้งสี่ศาสนานับอับราฮัมเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสนา

ศาสนาแบบอินเดีย

ศาสนาแบบจีน

ศาสนาแบบอิหร่าน

ศาสนาญี่ปุ่น

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1142
  2. The Everything World's Religions Book: Explore the Beliefs, Traditions and Cultures of Ancient and Modern Religions, page 1 Kenneth Shouler - 2010

แหล่งข้อมูลอื่น