ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาร์โบไฮเดรต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sarocha Petcharat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DaJim (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5894099 สร้างโดย Sarocha Petcharat (พูดคุย)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เคมีอินทรีย์}}
คาร์โบไฮเดรต คือ สารประกอบอินทรีย์ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก และมีอยู่หลายชนิดในธรรมชาติ มีรากศัพท์มาจากคำว่า คาร์บอน (carbon) และคำว่าไฮเดรต (hydrate) ที่แปลว่าอิ่มตัวไปด้วยน้ำ เมื่อรวมกันแล้วก็จะหมายถึงคาร์บอนที่อิ่มตัวไปด้วยน้ำ1 ซึ่งประกอบไปด้วยอะตอมของ C (คาร์บอน), H (ไฮโดรเจน) และ O (ออกซิเจน) เป็นธาตุหลัก โดยมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในด้านการเป็นแหล่งพลังงานและเป็นส่วนประกอบของส่วนต่างๆ ภายในเซลล์และเยื่อเซลล์ต่างๆ


'''คาร์โบไฮเดรต''' ({{lang-en|Carbohydrate}}) เป็นสารชีวโมเลกุลที่สำคัญที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตทุกชนิค คำว่าคาร์โบไฮเดรตมีรากศัพท์มาจากคำว่า [[คาร์บอน]] (carbon) และคำว่า[[ไฮโดรเจน|ไฮเดรต]] (hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ เนื่องจากสูตรเคมีอย่างง่ายก็คือ (C•H<sub>2</sub>O) n ซึ่ง n≥3 โดยคาร์โบไฮเดรตจัดเป็นสารประกอบแอลดีไฮด์ (aldehyde) หรือคีโทน (ketone) ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl group, -OH) เกาะอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเรียกว่า สารประกอบโพลีไฮดรอกซีแอลดีไฮด์ (polyhydroxyaldehyde) หรือ โพลีไฮดรอกซีคีโทน (polyhydroxyketone) ซึ่งการที่มีหมู่ไฮดรอกซิลในโมเลกุลนั้น ทำให้เกิดการวางตัวของหมู่ดังกล่าวที่แตกต่างกัน และยังสามารถทำปฏิกิริยาหรือสร้างพันธะกับสารอื่นๆได้ ดังนั้น คาร์โบไฮเดรตจึงมีความหลากหลายทั้งในด้านของโครงสร้างทางเคมี และบทบาททางชีวภาพอีกด้วย หน่วยที่เล็กทีสุดของคาร์โบไฮเดรตก็คือ[[น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว]]หรือโมโนแซคคาร์ไรด์
การจำแนกประเภทของคาร์โบไฮเดรต
เราสามารถจำแนกประเภทของคาร์โบไฮเดรตตามสารที่เป็นองค์ประกอบได้ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. คาร์โบไฮเดรตอย่างง่าย (Simple carbohydrate) หมายถึง คาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีสารชนิดอื่นประกอบอยู่ในโมเลกุล สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ มอโนแซ็กคาไรด์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ และ พอลิแซ็กคาไรด์
1.1 มอโนแซ็กคาไรด์ คือ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เป็นสารที่มีรสหวาน ละลายในน้ำได้ดีแต่ไม่ละลายในตัวทำละลายไม่มีขั้ว เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของคาร์โบไฮเดรต ไม่สามารถย่อยสลายได้เล็กลงอีก มีสูตรโครงสร้างพื้นฐานคือ (CH2O)n ซึ่ง n เป็นจำนวนเต็มตั้งแต่ 3 ถึง 72 เมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะดูดซึมจากลำไส้ได้เลย โดยไม่ต้องผ่านการย่อย ได้แก่ กลูโคส ฟรักโทส แมนโนส กาแลกโทส และ ไรโบส เป็นต้น และทั้งกลูโคสและฟรักโทสต่างก็เป็นน้ำตาลที่พบได้ในผัก ผลไม้ และน้ำผึ้ง น้ำตาลส่วนใหญ่ที่พบในเลือด คือ กลูโคส ซึ่งเป็นตัวให้พลังงานที่สำคัญแก่ร่างกาย
1.2 โอลิโกแซ็กคาไรด์ คือคาร์โบไฮเดรตที่เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ ตั้งแต่ 2 ถึง 6 โมเลกุลขึ้นไป มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิก น้ำตาลชนิดนี้เมื่อรับประทานเข้าไป น้ำย่อยในลำไส้เล็กจะย่อยออกเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวก่อน ร่างกายจึงจะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ได้แก่ มอลโทส ซูโครส แลคโทส และ ราฟฟีโนส เป็นต้น
1.3 พอลิแซ็กคาไรด์ คือ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ตั้งแต่ 10 โมเลกุลขึ้นไปจนถึง 1,000 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิก พอลิแซ็กคาไรด์ในธรรมชาติส่วนใหญ่ไม่มีสี ไม่มีรส เมื่อละลายน้ำจะได้สารละลายคอลลอยด์ พอลิแซ็กคาไรด์เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไกลเคน (glycan)3 ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส เพกติน และไคติน เป็นต้น
2. คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน (Complex carbohydrate) หมายถึง คาร์โบไฮเดรตที่มีสารชนิดอื่น เช่น ลิพิด โปรตีน ประกอบอยู่ในโมเลกุลด้วย เช่น ไกลโคโปรตีน ไกลโคลิพิด เป็นต้น


== ประเภทของคาร์โบไฮเดรต ==
http://frynn.com/%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%95/ 1
คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารหลักซึ่งให้พลังงานเท่ากับ โปรตีน คือ 4 กิโลแคลลอรี่/1 กรัม ประกอบด้วย C คาร์บอน H ไฮโดรเจน และ O ออกซิเจน เป็นอัตราส่วน n:2n:n คาร์โบไฮเดรต แบ่งออกเป็น
http://science.srru.ac.th/org/sci-elearning/courseonline/4022503/chapter3-mono1.htm 2
3 อย่าง คือ
http://science.srru.ac.th/org/sci-elearning/courseonline/4022503/chapter3-polysac.htm3
# '''น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว''' (monosaccharide) ได้แก่ glucose , fructose , galactose
# '''น้ำตาลโมเลกุลคู่''' (disaccharides) ได้แก่ maltose , lactose , sucrose
# '''โพลีแซคคาไรด์''' (polysaccharides) ได้แก่ starch , glycogen , cellulose

นอน

=== น้ำตาลโมเลกุลคู่ ===
{{บทความหลัก|น้ำตาลโมเลกุลคู่}}
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจะรวมตัวเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ด้วย[[พันธะไกลโคซิดิก]] ระหว่าง[[หมู่ไฮดรอกซิล]]ของน้ำตาลตัวหนึ่งกับคาร์บอนของน้ำตาลอีกตัวหนึ่ง ตำแหน่งที่เกิดพันธะไกลโคซิดิกแสดงโดย (1→4) ซึ่งแสดงว่า C1 ของตัวแรกต่อกับ C4 ของน้ำตาลตัวที่สอง

=== โพลีแซคคาไรด์ ===
เกิดจากการต่อกันของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจนเป็นสายยาว โพลีแซคคาไรด์แบ่งเป็นสองชนิดคือ โฮโมโพลีแซคคาไรด์ ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวชนิดเดียว กับเฮเทอโรโพลีแซคคาไรด์ ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายชนิด โพลีแซคคาไรด์ที่สำคัญมีหลายชนิด ได้แก่
* [[แป้ง]] เป็นอาหารสะสมใน[[เซลล์พืช]] ประกอบด้วยโพลีเมอร์ของกลูโคสสองชนิดคือ [[อะไมโลส]] ไม่แตกกิ่ง ต่อด้วย (α1→4) กับ[[อะไมโลเพกติน]] เป็นสายโพลีแซคคาไรค์ที่แตกกิ่ง โดยส่วนที่เป็นเส้นตรงต่อด้วย (α1→4) และส่วนที่แตกกิ่งต่อด้วย (α1→6)
* [[ไกลโคเจน]] เป็นอาหารสะสมใน[[เซลล์สัตว์]] มีโครงสร้างคล้ายอะไมโลเพกตินแต่แตกกิ่งมากกว่า
* [[เซลลูโลส]] เป็นโครงสร้างของเซลล์พืช ลักษณะเป็นโซ่ตรงของกลูโคส ไม่แตกกิ่ง ต่อกันด้วยพันธะ (β1→4)
* [[ไคทิน]] เป็นโครงสร้างของเซลล์สัตว์ พบในเปลือกหอย กุ้ง ปู เป็น[[โฮโมโพลีแซคคาไรด์]]ของ [[N-acetyl-D-glucosamine]] ต่อกันด้วยพันธะ β
* [[เปบทิโดไกลแคน]] เป็นโครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์ของ [[N-acetylglucosamine]] และ N-acetylmuramic acid ต่อกันด้วยพันธะ (β1→4)
* [[ไกลโคซามิโนไกลแคน]] เป็นส่วนประกอบของสารที่อยู่ระหว่างเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์ของน้ำตาลโมเลกุลคู่ซ้ำๆกัน คือ hyaluronic acid (ประกอบด้วย glucoronic acid กับ acetylglucosamine)

== ไกลโคโปรตีนและไกลโคลิพิด ==
[[ไกลโคโปรตีน]]เป็นองค์ประกอบหลักของ[[โปรตีน]]ที่หลั่งออกนอกเซลล์ โดยเป็นโปรตีนที่เชื่อมต่อกับ[[โอลิโกแซคคาไรด์]] (น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวต่อกัน 3 – 5 โมเลกุล) ส่วน[[ไกลโคลิปิด]]ซึ่งเป็นโพลีแซคคาไรด์ที่จับกับไขมันเป็นองค์ประกอบในเยื่อหุ้มต่างๆภายในเซลล์ นอกจากนั้น ไกลโคโปรตีนบางชนิด เช่น [[เลกติน]] (lectin) หรือ[[ซีเลกติน]] (selectin) มีบทบาทในการจดจำเซลล์เป้าหมายของเชื้อก่อโรค

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth
{{จบอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www2.ufp.pt/~pedros/bq/carb_en.htm Carbohydrates, including interactive models and animations] (Requires [http://www.mdl.com/products/framework/chime/ MDL Chime])
* [http://www.chem.qmw.ac.uk/iupac/2carb/ IUPAC-IUBMB Joint Commission on Biochemical Nomenclature (JCBN) : Carbohydrate Nomenclature]
* [http://www.cem.msu.edu/~reusch/VirtualText/carbhyd.htm Carbohydrates detailed]
* [http://www.biochemweb.org/carbohydrates.shtml Carbohydrates and Glycosylation - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology]
* [http://www.functionalglycomics.org/static/consortium/ Consortium for Functional Glycomics]

[[หมวดหมู่:โภชนาการ]]
[[หมวดหมู่:คาร์โบไฮเดรต|คาร์โบไฮเดรต]]
[[หมวดหมู่:สารอาหาร]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:01, 26 พฤษภาคม 2558

คาร์โบไฮเดรต (อังกฤษ: Carbohydrate) เป็นสารชีวโมเลกุลที่สำคัญที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตทุกชนิค คำว่าคาร์โบไฮเดรตมีรากศัพท์มาจากคำว่า คาร์บอน (carbon) และคำว่าไฮเดรต (hydrate) อิ่มตัวไปด้วยน้ำ ซึ่งรวมกันก็หมายถึงคาร์บอนที่อิมตัวไปด้วยน้ำ เนื่องจากสูตรเคมีอย่างง่ายก็คือ (C•H2O) n ซึ่ง n≥3 โดยคาร์โบไฮเดรตจัดเป็นสารประกอบแอลดีไฮด์ (aldehyde) หรือคีโทน (ketone) ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (hydroxyl group, -OH) เกาะอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเรียกว่า สารประกอบโพลีไฮดรอกซีแอลดีไฮด์ (polyhydroxyaldehyde) หรือ โพลีไฮดรอกซีคีโทน (polyhydroxyketone) ซึ่งการที่มีหมู่ไฮดรอกซิลในโมเลกุลนั้น ทำให้เกิดการวางตัวของหมู่ดังกล่าวที่แตกต่างกัน และยังสามารถทำปฏิกิริยาหรือสร้างพันธะกับสารอื่นๆได้ ดังนั้น คาร์โบไฮเดรตจึงมีความหลากหลายทั้งในด้านของโครงสร้างทางเคมี และบทบาททางชีวภาพอีกด้วย หน่วยที่เล็กทีสุดของคาร์โบไฮเดรตก็คือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหรือโมโนแซคคาร์ไรด์

ประเภทของคาร์โบไฮเดรต

คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารหลักซึ่งให้พลังงานเท่ากับ โปรตีน คือ 4 กิโลแคลลอรี่/1 กรัม ประกอบด้วย C คาร์บอน H ไฮโดรเจน และ O ออกซิเจน เป็นอัตราส่วน n:2n:n คาร์โบไฮเดรต แบ่งออกเป็น 3 อย่าง คือ

  1. น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) ได้แก่ glucose , fructose , galactose
  2. น้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharides) ได้แก่ maltose , lactose , sucrose
  3. โพลีแซคคาไรด์ (polysaccharides) ได้แก่ starch , glycogen , cellulose

นอน

น้ำตาลโมเลกุลคู่

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจะรวมตัวเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ด้วยพันธะไกลโคซิดิก ระหว่างหมู่ไฮดรอกซิลของน้ำตาลตัวหนึ่งกับคาร์บอนของน้ำตาลอีกตัวหนึ่ง ตำแหน่งที่เกิดพันธะไกลโคซิดิกแสดงโดย (1→4) ซึ่งแสดงว่า C1 ของตัวแรกต่อกับ C4 ของน้ำตาลตัวที่สอง

โพลีแซคคาไรด์

เกิดจากการต่อกันของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจนเป็นสายยาว โพลีแซคคาไรด์แบ่งเป็นสองชนิดคือ โฮโมโพลีแซคคาไรด์ ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวชนิดเดียว กับเฮเทอโรโพลีแซคคาไรด์ ประกอบด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายชนิด โพลีแซคคาไรด์ที่สำคัญมีหลายชนิด ได้แก่

  • แป้ง เป็นอาหารสะสมในเซลล์พืช ประกอบด้วยโพลีเมอร์ของกลูโคสสองชนิดคือ อะไมโลส ไม่แตกกิ่ง ต่อด้วย (α1→4) กับอะไมโลเพกติน เป็นสายโพลีแซคคาไรค์ที่แตกกิ่ง โดยส่วนที่เป็นเส้นตรงต่อด้วย (α1→4) และส่วนที่แตกกิ่งต่อด้วย (α1→6)
  • ไกลโคเจน เป็นอาหารสะสมในเซลล์สัตว์ มีโครงสร้างคล้ายอะไมโลเพกตินแต่แตกกิ่งมากกว่า
  • เซลลูโลส เป็นโครงสร้างของเซลล์พืช ลักษณะเป็นโซ่ตรงของกลูโคส ไม่แตกกิ่ง ต่อกันด้วยพันธะ (β1→4)
  • ไคทิน เป็นโครงสร้างของเซลล์สัตว์ พบในเปลือกหอย กุ้ง ปู เป็นโฮโมโพลีแซคคาไรด์ของ N-acetyl-D-glucosamine ต่อกันด้วยพันธะ β
  • เปบทิโดไกลแคน เป็นโครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์ของ N-acetylglucosamine และ N-acetylmuramic acid ต่อกันด้วยพันธะ (β1→4)
  • ไกลโคซามิโนไกลแคน เป็นส่วนประกอบของสารที่อยู่ระหว่างเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์ของน้ำตาลโมเลกุลคู่ซ้ำๆกัน คือ hyaluronic acid (ประกอบด้วย glucoronic acid กับ acetylglucosamine)

ไกลโคโปรตีนและไกลโคลิพิด

ไกลโคโปรตีนเป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีนที่หลั่งออกนอกเซลล์ โดยเป็นโปรตีนที่เชื่อมต่อกับโอลิโกแซคคาไรด์ (น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวต่อกัน 3 – 5 โมเลกุล) ส่วนไกลโคลิปิดซึ่งเป็นโพลีแซคคาไรด์ที่จับกับไขมันเป็นองค์ประกอบในเยื่อหุ้มต่างๆภายในเซลล์ นอกจากนั้น ไกลโคโปรตีนบางชนิด เช่น เลกติน (lectin) หรือซีเลกติน (selectin) มีบทบาทในการจดจำเซลล์เป้าหมายของเชื้อก่อโรค

อ้างอิง

  • Lehninger, A.L., Nelson, D.L., and Cox, M.M. 1993. Principle of Biochemistry. 2nd ed. New York.: Worth

แหล่งข้อมูลอื่น