ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักงานรัฐมนตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
#######‪#‎ฤดูฝนทุกปีที่ตกลงมาตามพื้นที่มีภูเขานั้น‬ น้ำฝนที่ไหลลงมาก็จะไหลลงสู่ที่ต่ำก็ไปอย
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 98: บรรทัด 98:
[[หมวดหมู่:หน่วยงานของรัฐบาลไทย]]
[[หมวดหมู่:หน่วยงานของรัฐบาลไทย]]
{{โครงหน่วยงาน}}
{{โครงหน่วยงาน}}
#######‪#‎ฤดูฝนทุกปีที่ตกลงมาตามพื้นที่มีภูเขานั้น‬ น้ำฝนที่ไหลลงมาก็จะไหลลงสู่ที่ต่ำก็ไปอย่างรวดเร็ว โดยไม่ได้นำใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เลย ขอแนะนำพื้นที่ไหนที่มีภูเขาตามหมู่บ้าน ตามตำบล ตามอำเภอ จังหวัดต่างๆ ภูเขาบางลูกมีอาณาเขตหลายหมู่บ้าน หลายตำบล หลายอำเภอ หลายจังหวัด ก็ให้ใช้งบประมาณของ ตำบลนั้นๆ อำเภอนั้นๆ จังหวัดนั้นๆ ถ้าไม่พอก็ของบประมาณส่วนกลาง ดีกว่ามาของบช่วยเหลือเ มื่อเกิดอุบัติภัย แล้งซ้ำซาก น้ำท่วมซ้ำซากให้สิ้นเปลืองโดยไม่ได้ประโยชน์อีกต่อไป เพราะไม่มีการแก้ไขที่จริงจัง ให้ขุดเป็นอ่างเก็บน้ำตามรอบพื้นที่ภูเขา จากตีนเขากว้างสัก 100-200 เมตร ลึกสัก 20-30 เมตร หรือจะให้หน่วยงานของเอกชนมาขุดก็ได้ เพราะเขารายได้จากการนำดินไปขาย ที่สำคัญหน่วยงานของเอกชน เขามีเครื่องมือครบ สามารถดำเนินการได้เร็ว เมื่อมีการทำสัญญาจากหน่วยงานของเอกชน ก็เจ้าหน้าที่ทหาร ต้องใช้ทหาร ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ คอยควบคุมในการล่วงล้ำขุดเกินพื้นที่ ที่ระบุให้เพื่อเป็นอ่างน้ำให้กับชุมชนนั้นๆ ไว้รองรับฤดูแล้ง ได้ใช้ทั้งอุปโภค บริโภค และเกษรตกรรม รวมทั้งป้องกันสัตว์ป่าออกมารบกวนประชาชน และพืชผลต่างๆของประชาชน ได้รับผลประโยชน์ทั้งคนและสัตว์ อีกทั้งยังเพิ่มอาชีพทางการประมง หรือเป็นสถานที่พักผ่อน และท่องเที่ยวของชุมชนนั้นๆ
อ่างรอบนอกที่ติดพื้นที่ประชาชนหรือเกษตรกรก็ทำเป็นสันเขื่อนด้วยปูนซีเมนต์และประตูน้ำให้กับ ลำธาร ลำคลองตามชาติดั้งเดิม รวมทั้งทำที่ป้องกันน้ำล้นระยะเวลาน้ำหลากหรือฝนชุกชุม เมื่อถึงคราเมื่อตื้นเขิน ก็ปล่อยโดยประตูน้ำ ให้ชุมชนที่มีเขตรับผิดชอบนั้นเป็นผู้ดูแลในการปล่อยน้ำ ให้กับลำธาร ลำคลองหรือคลองชลประทานนั้นๆ
ส่วนฝั่งที่ติดกับภูเขาก็จัดทำให้เป็นที่ไม่ลาดเอียงเพื่อที่สัตว์จะได้เดินลงมากินน้ำได้ง่ายๆ ไม่เกิดอันตรายแก่สัตว์ รวมทั้งนำแมคโคร ขุดต้นไม้ใหญ่ต่างๆ ของประชาชน ที่กินได้โดยขอความร่วมมือจากประชาชน ต้นไม้ที่ว่านั้นคือ พันธุ์กล้วยต่างๆ มะขาม มะยม น้อยหน่า มะม่วง มังคุด เงาะ ขนุน ฯลฯ ที่สัตว์กินได้ เพราะเมื่อถึงฤดูที่ผลไม้นั้นๆออก สัตว์ก็จะลงมาหากินกันเอง เมื่อได้พันธุ์ไม้ และต้นผลไม้ที่ขุดมาแล้วก็นำมาลงตรงที่ฝั่งติดภูเขาที่เราจะขุดเป็นอ่างน้ำ โดยการขุดในพื้นที่ของกรมอุทยาน หรือโดยการขอเวณคืนจากชาวบ้าน ก็ว่ากันไป
ถ้าทำได้เราจะไม่ ประสบปัญหาภาวะภัยแล้ง ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ และการรบกวนจากสัตว์ป่าอีกแน่นอน 80-90 เปอร์เซ็นต์ และพื้นที่ ที่มีช้างป่าออกมา หรือมีทางช้างผ่าน ก็ให้คงไว้เพื่อการสืบพันธุ์ขยายพันธุ์ แต่เมื่ออนาคต มีพืชพนุ์ธันญาหารดี อุดมสมบูรณ์ สัตว์ป่าก็คงไม่ลงมาวุ่นวายกับมนุษย์แน่นอน อีกทั้งยังเป็นการป้องกันรุกล้ำดินแดนป่าเขาของมนุษย์ได้อย่างเด็ดขาด 100 %
และขอเถอะพวกนักอนุรักษณ์ทั้งหลาย เพราะเวลาเกิดภาวะภัยแล้ง เห็นพวก(มึง) นั่งดูสบายในสำนักงาน ในห้องแอร์ไม่ลำบาก เพราะคนที่เขาลำบาก คือคนที่ได้รับผลกระทบอย่างแท้จริงในทุกๆปี พวก (มึง) ก็แค่ร้องแรกแหกกะเฌอ เมื่อสัตว์ป่าถูกทำร้ายจากเครื่องป้องกันของชาวบ้านบ้าง กินยาของชาวบ้านบ้าง พวก(มึง) ลองไปใช้ชีวิตแบบพวกชาวบ้านบ้าง แล้วพวก(มึง) จะเข้าใจชีวิต ขอเถอะนะ ถ้าเขาจะทำการสำรวจจากโครงการนี้ (ถ้ามีหน่วยงานเขาคิดจะทำนะ ตอนนี้ยัง แค่คิดออกมาจากความคิดเฉยๆ) พวกโลกสวยด้วยความคิดของพวก(มึง) ฝ่ายเดียว ผลพลอยได้ ที่สำคัญก็คือเราจะสามารถปลูกพืชพลังงาน และพืชอาหารได้ถ้าไม่มีแหล่งน้ำที่เพียงพอ ประเทศไทยก็คงไม่ได้เป็น ผู้ผลิตพืชอาหาร ดังที่โฆษณาไว้กับโลก ว่าไทยจะเป็นครัวของโลก ถ้าแหล่งน้ำไม่เพียงพอไทยก็เป็นได้แค่เพียง ส่วนหนึ่งของครัวโลกเท่านั้นนะ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:50, 19 พฤษภาคม 2558

สำนักงานรัฐมนตรี
Office of the minister
ภาพรวมหน่วยงาน
หน่วยงานก่อนหน้า
เชิงอรรถ
เป็นส่วนราชการที่มีอยู่ในทุกกระทรวง

สำนักงานรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงต่างๆ ของประเทศไทย เดิมมีชื่อว่า "สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี" ในอดีตเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ทั่วไปซึ่งมิใช่งานของกรมใดกรมหนึ่งในกระทรวง หรือเปรียบเสมือนกับสำนักงานรัฐมนตรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 ได้มีการปรับปรุงโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม และมีการจัดตั้งให้สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรีมีฐานะเป็นกรม ใช้ชื่อว่า "สำนักงานรัฐมนตรี"

อำนาจหน้าที่

สำนักงานรัฐมนตรีในแต่ละกระทรวง มีภารกิจเกี่ยวกับราชการทางการเมือง เพื่อสนับสนุนภารกิจของรัฐมนตรี ประสานนโยบายระหว่างกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้

  1. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์กลั่นกรองเรื่องเพื่อเสนอต่อรัฐมนตรี รวมทั้งเสนอความเห็นประกอบการวินิจฉัยสั่งการของรัฐมนตรี
  2. สนับสนุนการทำงานของรัฐมนตรีในการดำเนินงานทางการเมืองระหว่างรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี รัฐสภา และประชาชน
  3. ประสานงานการตอบกระทู้ ชี้แจงญัตติ ร่างพระราชบัญญัติ และกิจการอื่นทางการเมือง
  4. ดำเนินการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือร้องขอความช่วยเหลือต่อรัฐมนตรี
  5. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงานรัฐมนตรี หรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

การแบ่งส่วนราชการ

สำนักงานรัฐมนตรีในแต่ละกระทรวง แบ่งส่วนราชการออกเป็น 3 ส่วน คือ[1]

  • งานบริหารทั่วไป มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับงานเลขานุการและงานการประชุมของรัฐมนตรี งานบริหารทั่วไป
  • กลุ่มงานประสานการเมือง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานนโยบายระหว่างกระทรวงและประสานกับรัฐสภา การประชาสัมพันธ์ รับเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชน
  • กลุ่มงานสนับสนุนวิชาการ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวการประสานงาน วิเคราะห์ กลั่นกรอง และให้ความเห็นแก่รัฐมนตรีเกี่ยวกับการปฏิบัติภารกิจของรัฐมนตรี

อ้างอิง