ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนนิตโย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nonnies (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| ทางหลวงเอเชีย = {{AH|15}}
| ทางหลวงเอเชีย = {{AH|15}}
}}
}}
'''ถนนนิตโย''' ({{lang-en|Thanon Nittayo}}) หรือ '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 สายอุดรธานี - นครพนม''' เริ่มจากบริเวณวนเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็น[[ถนนมิตรภาพ|ถนนทหาร]] และ[[ถนนมิตรภาพ|ถนนอุดรดุษฎี]] ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี [[จังหวัดอุดรธานี]] (เส้นเดียวกับ[[ถนนโพศรี]]) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่าน[[อำเภอหนองหาน]] [[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง|อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดสกลนคร]]ที่[[อำเภอสว่างแดนดิน]] ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน [[อำเภอพังโคน]] [[อำเภอพรรณานิคม]] [[อำเภอเมืองสกลนคร]] เทศบาลตำบลท่าแร่ [[อำเภอกุสุมาลย์]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดนครพนม]]ที่[[อำเภอเมืองนครพนม]]ไปบรรจบเส้น[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212]] (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 244.33 กิโลเมตร
'''ถนนนิตโย''' ({{lang-en|Thanon Nittayo}}) หรือ '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 (สายอุดรธานี - นครพนม)''' เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็น[[ถนนมิตรภาพ|ถนนทหาร]] และ[[ถนนมิตรภาพ|ถนนอุดรดุษฎี]] ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี [[จังหวัดอุดรธานี]] (เส้นเดียวกับ[[ถนนโพศรี]]) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่าน[[อำเภอหนองหาน]] [[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง|อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดสกลนคร]]ที่[[อำเภอสว่างแดนดิน]] ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน [[อำเภอพังโคน]] [[อำเภอพรรณานิคม]] [[อำเภอเมืองสกลนคร]] เทศบาลตำบลท่าแร่ [[อำเภอกุสุมาลย์]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดนครพนม]]ที่[[อำเภอเมืองนครพนม]]ไปบรรจบเส้น[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212]] (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 244.33 กิโลเมตร


ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม"<ref name="gazette">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่] - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493</ref> ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2493]]<ref name="gazette"/> ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่นาย[[โสภณ นิตตะโย]] อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางชุมแพ<ref name="gazette"/>
ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม"<ref name="gazette">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่] - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493</ref> ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2493]]<ref name="gazette"/> ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่นาย[[โสภณ นิตตะโย]] อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางชุมแพ<ref name="gazette"/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:35, 13 พฤษภาคม 2558

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22
ถนนนิตโย
ข้อมูลของเส้นทาง
ส่วนหนึ่งของ
ความยาว244.33 กิโลเมตร (151.82 ไมล์)
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศตะวันตก ถนนทหาร ใน ตัวเมืองอุดรธานี จ.อุดรธานี
ปลายทางทิศตะวันออก ถนนสุนทรวิจิตร ใน ตัวเมืองนครพนม จ.นครพนม
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ถนนนิตโย (อังกฤษ: Thanon Nittayo) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 (สายอุดรธานี - นครพนม) เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็นถนนทหาร และถนนอุดรดุษฎี ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี (เส้นเดียวกับถนนโพศรี) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่านอำเภอหนองหาน อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง และเข้าสู่เขตจังหวัดสกลนครที่อำเภอสว่างแดนดิน ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน อำเภอพังโคน อำเภอพรรณานิคม อำเภอเมืองสกลนคร เทศบาลตำบลท่าแร่ อำเภอกุสุมาลย์ และเข้าสู่เขตจังหวัดนครพนมที่อำเภอเมืองนครพนมไปบรรจบเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 244.33 กิโลเมตร

ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม"[1] ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493[1] ในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่นายโสภณ นิตตะโย อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางชุมแพ[1]

อ้างอิง