ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อบเชย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ถูกต้องแม่นยำ}}

{{Expand language| langcode = th | otherarticle = Cinnamon | lang = ภาษาอังกฤษ }}
{{รวมไป|เครื่องเทศ}}
{{ขาดความสำคัญ}}
{{ความหมายอื่น|เครื่องเทศ|ชนิดพืช|อบเชยลังกา}}
{{ความหมายอื่น|เครื่องเทศ|ชนิดพืช|อบเชยลังกา}}
'''อบเชย''' ({{lang-en|cinnamon}}) เป็น[[เครื่องเทศ]]ที่มีกลิ่นหอม ได้มาจากเปลือกไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย แท่งอบเชยมีสีน้ำตาลแดง มีลักษณะเหมือนแผ่นไม้แห้งที่หดงอหลังจากโดนความชื้น มักจะเรียกตามแหล่งเพาะปลูกเช่น [[อบเชยจีน]] [[อบเชยลังกา]] [[อบเชยญวน]] เป็นต้น ในประเทศไทยไม่นิยมปลูกเพราะภูมิอากาศไม่เหมาะสม
'''อบเชย''' ({{lang-en|cinnamon}}) เป็น[[เครื่องเทศ]]ที่มีกลิ่นหอม ได้มาจากเปลือกไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย แท่งอบเชยมีสีน้ำตาลแดง มีลักษณะเหมือนแผ่นไม้แห้งที่หดงอหลังจากโดนความชื้น มักจะเรียกตามแหล่งเพาะปลูกเช่น [[อบเชยจีน]] [[อบเชยลังกา]] [[อบเชยญวน]] เป็นต้น ในประเทศไทยไม่นิยมปลูกเพราะภูมิอากาศไม่เหมาะสม{{อ้างอิง}}


==การใช้ประโยชน์==
==การใช้ประโยชน์==
บรรทัด 12: บรรทัด 15:
น้ำมันสกัดจากเปลือกของต้นอบเชยที่ความเข้มข้น 40 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ ''[[Streptococcus iniae]]'' ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ โดยสารออกฤทธิ์ที่มีส่วนสาคัญต่อการยับยั้งการเจริญของ ''S. iniae'' คือ cinnamaldehyde ปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยน้ามันสกัดจากต้นอบเชยในอัตราส่วน 0.4% (w/w) ตายเนื่องจากการติดเชื้อ ''S. niae'' น้อยลง<ref> พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ และ ปาริชาติ พุ่มขจร. 2553. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/12408.pdf การใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคในปลา] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่12 ฉบับที่4 กรกฎาคม 2553 63 -71</ref>
น้ำมันสกัดจากเปลือกของต้นอบเชยที่ความเข้มข้น 40 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ ''[[Streptococcus iniae]]'' ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ โดยสารออกฤทธิ์ที่มีส่วนสาคัญต่อการยับยั้งการเจริญของ ''S. iniae'' คือ cinnamaldehyde ปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยน้ามันสกัดจากต้นอบเชยในอัตราส่วน 0.4% (w/w) ตายเนื่องจากการติดเชื้อ ''S. niae'' น้อยลง<ref> พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ และ ปาริชาติ พุ่มขจร. 2553. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/12408.pdf การใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคในปลา] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่12 ฉบับที่4 กรกฎาคม 2553 63 -71</ref>


นิยมใส่ในกาแฟในบางประเทศ ที่ควบคุมความสะอาดในการผลิตได้ เนื่องจากมีค่ากำมะถันที่ชดเชยส่วนที่ขาดของค่ากำมะถันทองแดงธรรมชาติในกาแฟได้ ทำให้ลดความเสียงการเป็นเบาหวานได้สูงขึ้นอีก หรือบางครั้งมีการเรียกว่าค่าโครเมี่ยมพิโคลิเนต ที่จริงๆแล้ว โครเมี่ยมเป็นธาตุโลหะที่เป็นพิษสูง
นิยมใส่ในกาแฟในบางประเทศ ที่ควบคุมความสะอาดในการผลิตได้ เนื่องจากมีค่ากำมะถันที่ชดเชยส่วนที่ขาดของค่ากำมะถันทองแดงธรรมชาติในกาแฟได้ ทำให้ลดความเสี่ยงการเป็นเบาหวานได้สูงขึ้นอีก หรือบางครั้งมีการเรียกว่าค่าโครเมี่ยมพิโคลิเนต ที่จริงๆแล้ว โครเมี่ยมเป็นธาตุโลหะที่เป็นพิษสูง


แต่ผู้รับประทานควรระวังคือ ดูวันหมดอายุ หรือสังเกตุ คราบราดำที่กินกำมะถันอบเชยได้
แต่ผู้รับประทานควรระวังคือ ดูวันหมดอายุ หรือสังเกตุ คราบราดำที่กินกำมะถันอบเชยได้{{อ้างอิง}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 2 พฤษภาคม 2558

อบเชย (อังกฤษ: cinnamon) เป็นเครื่องเทศที่มีกลิ่นหอม ได้มาจากเปลือกไม้ชั้นในที่แห้งแล้วของต้นอบเชย แท่งอบเชยมีสีน้ำตาลแดง มีลักษณะเหมือนแผ่นไม้แห้งที่หดงอหลังจากโดนความชื้น มักจะเรียกตามแหล่งเพาะปลูกเช่น อบเชยจีน อบเชยลังกา อบเชยญวน เป็นต้น ในประเทศไทยไม่นิยมปลูกเพราะภูมิอากาศไม่เหมาะสม[ต้องการอ้างอิง]

การใช้ประโยชน์

นิยมใช้อบเชยในการทำเครื่องแกงเช่น พริกแกงกะหรี่ประเภทผัดที่ใช้ผงกะหรี่ ใช้เป็นไส้กะหรี่ปั๊ป หรือใช้ร่วมกับโป๊ยกั้กในอาหารคาวประเภทต้มเช่น พะโล้และเนื้อตุ๋น ส่วนในประเทศแถบตะวันตก มักใส่อบเชยในของหวาน เช่น ซินนามอนโรลล์ ใช้ผงอบเชยละเอียดโรยหน้ากาแฟใส่นม ใช้ผงอบเชยกับน้ำตาลโรยหน้าเพรตเซล และนอกจากนี้ยังมีลูกอม หมากฝรั่ง และยาสีฟันรสอบเชยอีกด้วย

เปลือกอบเชย

อบเชยมีสรรพคุณทางยา เนื่องจากมีแทนนินสูงที่ให้รสฝาดจึงนิยมใช้ในยาตำรับแผนโบราณเช่น เป็นส่วนผสมในยาหอมต่าง ๆ โดยใช้ส่วนของเปลือกลำต้น ใช้ในการแก้จุกเสียด แน่นท้อง หรือใช้ในการทำยานัตถุ์ใช้สูดดม เพื่อเพิ่มความสดชื่น ลดอาการอ่อนเพลีย แก้โรคท้องร่วงเพราะมีส่วนช่วยต้านแบคทีเรียในกระเพาะอาหาร ขับปัสสาวะ ช่วยในการย่อยอาหาร และสลายไขมัน ส่วนเปลือกลำต้นอายุมากกว่า 6 ปี หรือใบกิ่งยังนำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยได้อีกด้วย ซึ่งจะมีมากในอบเชยญวนที่ให้น้ำมันหอมระเหย 2.5%

น้ำมันสกัดจากเปลือกของต้นอบเชยที่ความเข้มข้น 40 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรยับยั้งการเจริญของ Streptococcus iniae ในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ โดยสารออกฤทธิ์ที่มีส่วนสาคัญต่อการยับยั้งการเจริญของ S. iniae คือ cinnamaldehyde ปลานิลที่เลี้ยงด้วยอาหารที่ผสมด้วยน้ามันสกัดจากต้นอบเชยในอัตราส่วน 0.4% (w/w) ตายเนื่องจากการติดเชื้อ S. niae น้อยลง[1]

นิยมใส่ในกาแฟในบางประเทศ ที่ควบคุมความสะอาดในการผลิตได้ เนื่องจากมีค่ากำมะถันที่ชดเชยส่วนที่ขาดของค่ากำมะถันทองแดงธรรมชาติในกาแฟได้ ทำให้ลดความเสี่ยงการเป็นเบาหวานได้สูงขึ้นอีก หรือบางครั้งมีการเรียกว่าค่าโครเมี่ยมพิโคลิเนต ที่จริงๆแล้ว โครเมี่ยมเป็นธาตุโลหะที่เป็นพิษสูง

แต่ผู้รับประทานควรระวังคือ ดูวันหมดอายุ หรือสังเกตุ คราบราดำที่กินกำมะถันอบเชยได้[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. พงศ์ศักดิ์ รัตนชัยกุลโสภณ และ ปาริชาติ พุ่มขจร. 2553. การใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรคในปลา วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่12 ฉบับที่4 กรกฎาคม 2553 63 -71
  • นิตยสารแม่บ้าน ปีที่ 31 ฉบับที่ 451, ธันวาคม 2549, หน้า 55