ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวัสดิ์ สืบสายพรหม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Takumi1603 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Takumi1603 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
สืบสวัสดิ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ครม.50)<ref>[http://www.cabinet.thaigov.go.th/cab_50.htm คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี]</ref>
สืบสวัสดิ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ครม.50)<ref>[http://www.cabinet.thaigov.go.th/cab_50.htm คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี]</ref>


ก่อนที่ต่อมาจะไม่ได้รับเลือกตั้ง ในปี [[พ.ศ. 2544]] โดยพ่ายแพ้ให้กับ พันตำรวจเอก[[ทิน วงศ์ปลั่ง]] จาก[[พรรคชาติไทย]] หลังจากนั้นได้วางมือทางการเมืองในระดับชาติ และลงรับสมัครเลือกตั้งเป็นนายก[[เทศบาลตำบลเมืองขุขันธ์]] ซึ่งได้รับเลือกและดำรงตำแหน่งในปัจจุบัน <ref>[http://www.mungkhukhan.org/detail_menu.php?id_men=42 คณะผู้บริหารเทศบาลตำบลเมืองขุขันธ์]</ref>
ก่อนที่ต่อมาจะไม่ได้รับเลือกตั้ง ในปี [[พ.ศ. 2544]] โดยพ่ายแพ้ให้กับ พันตำรวจเอก[[ทิน วงศ์ปลั่ง]] จาก[[พรรคชาติไทย]] หลังจากนั้นได้วางมือทางการเมือง


=== สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ===
=== สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:00, 20 เมษายน 2558

สวัสดิ์ สืบสายพรหม
ไฟล์:นาย สวัสดิ์ สืบสายพรหม.png
รัฐมนตรีช่วยว่าการเกษตรและสหกรณ์
ดำรงตำแหน่ง
29 กันยายน พ.ศ. 2535 – 7 ธันวาคม พ.ศ. 2537
นายกรัฐมนตรีนายชวน หลีกภัย
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด8 มกราคม พ.ศ. 2490 (77 ปี)
อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ
พรรคการเมืองพรรคไทยรักไทย

สวัสดิ์ สืบสายพรหม (เกิด 8 มกราคม พ.ศ. 2490) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 4 สมัย

ประวัติ

สวัสดิ์ สืบสายพรหม เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2490 เป็นบุตรของนายแก้ว และ นางเสียงสี สืบสายพรหม จบการศึกษา จากวิทยาลัยเพาะช่าง [1]

งานการเมือง

อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาจังหวัดศรีสะเกษในช่วง พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2526 ก่อนที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกใน พ.ศ. 2526 สังกัดพรรคกิจสังคม แต่ได้รับเลือกตั้งในครั้งต่อมา (พ.ศ. 2529) และได้รับเลือกติดต่อกันรวม 4 ครั้ง

ในปี พ.ศ. 2531 เขาได้เข้าร่วมงานกับพรรคประชาชน[2] และรับตำแหน่งเป็นกรรมการบริหารพรรค

สืบสวัสดิ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ครม.50)[3]

ก่อนที่ต่อมาจะไม่ได้รับเลือกตั้ง ในปี พ.ศ. 2544 โดยพ่ายแพ้ให้กับ พันตำรวจเอกทิน วงศ์ปลั่ง จากพรรคชาติไทย หลังจากนั้นได้วางมือทางการเมือง

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

สืบสวัสดิ์ สืบสายพรหม ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว 4 สมัย คือ

  1. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์
  2. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคประชาชน (พ.ศ. 2531)พรรคชาติไทย
  3. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคความหวังใหม่
  4. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคความหวังใหม่

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง