ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลแบเร็นตส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Barents Sea map.png|thumb|right|280px |ที่ตั้งของทะเลแบเร็นตส์]]
[[ไฟล์:Barents Sea map.png|thumb|right|280px |ที่ตั้งของทะเลแบเร็นตส์]]
'''ทะเลแบเร็นตส์''' ({{lang-no|Barentshavet}}; {{lang-ru|Баренцево море}}; {{lang-en|Barents Sea}}) เป็น[[ทะเล]]ที่เป็นส่วนหนึ่งของ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]ที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ[[ประเทศนอร์เวย์]]และ[[ประเทศรัสเซีย]]<ref>World Wildlife Fund, 2008.</ref> เป็นทะเลที่มี[[ไหล่ทวีป]] (Continental shelf) ที่ค่อนข้างลึก (เฉลี่ยความลึกราว 230 เมตร และที่บริเวณที่ลึกที่สุดลึก 450 เมตร) โดยมี[[ทะเลนอร์เวย์]]ทางตะวันตก เกาะ[[สฟาลบาร์]]ของนอร์เวย์ทางตะวันตกเฉียงเหนือและเกาะ[[ฟรันซ์โจเซฟแลนด์]] (Franz Josef Land) และเกาะ[[โนวายาเซมเลีย]] (Novaya Zemlya) ของรัสเซียทางตะวันออกเฉียงเหนือและทางตะวันออก เกาะโนวายาเซมเลียแยก[[ทะเลคารา]]ออกจากทะเลแบเร็นตส์ ใน[[ยุคกลาง]] ทะเลนี้มีชื่อเรียกว่า '''ทะเลมูร์มัน''' (Murman Sea) ส่วนชื่อของทะเลในปัจจุบันมาจากชื่อนักเดินเรือ[[ชาวดัตช์]]ชื่อ[[วิลเลิม บาเรินตส์]] (Willem Barentsz) ทะเลแบเร็นตส์เป็นแหล่งที่มีน้ำมันจากซากสัตว์ดึกดำบรรพ์<ref>O. G. Austvik, 2006.</ref>
'''ทะเลแบเร็นตส์''' ({{lang-en|Barents Sea}}; {{lang-no|Barentshavet}}; {{lang-ru|Баренцево море}}) เป็น[[ทะเล]]ที่เป็นส่วนหนึ่งของ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]ที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของ[[ประเทศนอร์เวย์]]และ[[ประเทศรัสเซีย]]<ref>World Wildlife Fund, 2008.</ref> เป็นทะเลที่มี[[ไหล่ทวีป]] (Continental shelf) ที่ค่อนข้างลึก (เฉลี่ยความลึกราว 230 เมตร และที่บริเวณที่ลึกที่สุดลึก 450 เมตร) โดยมี[[ทะเลนอร์เวย์]]ทางตะวันตก เกาะ[[สฟาลบาร์]]ของนอร์เวย์ทางตะวันตกเฉียงเหนือและเกาะ[[ฟรันซ์โจเซฟแลนด์]] (Franz Josef Land) และเกาะ[[โนวายาเซมเลีย]] (Novaya Zemlya) ของรัสเซียทางตะวันออกเฉียงเหนือและทางตะวันออก เกาะโนวายาเซมเลียแยก[[ทะเลคารา]]ออกจากทะเลแบเร็นตส์ ใน[[ยุคกลาง]] ทะเลนี้มีชื่อเรียกว่า '''ทะเลมูร์มัน''' (Murman Sea) ส่วนชื่อของทะเลในปัจจุบันมาจากชื่อนักเดินเรือ[[ชาวดัตช์]]ชื่อ[[วิลเลิม บาเรินตส์]] (Willem Barentsz) ทะเลแบเร็นตส์เป็นแหล่งที่มีน้ำมันจากซากสัตว์ดึกดำบรรพ์<ref>O. G. Austvik, 2006.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:36, 15 เมษายน 2558

ที่ตั้งของทะเลแบเร็นตส์

ทะเลแบเร็นตส์ (อังกฤษ: Barents Sea; นอร์เวย์: Barentshavet; รัสเซีย: Баренцево море) เป็นทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติกที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์และประเทศรัสเซีย[1] เป็นทะเลที่มีไหล่ทวีป (Continental shelf) ที่ค่อนข้างลึก (เฉลี่ยความลึกราว 230 เมตร และที่บริเวณที่ลึกที่สุดลึก 450 เมตร) โดยมีทะเลนอร์เวย์ทางตะวันตก เกาะสฟาลบาร์ของนอร์เวย์ทางตะวันตกเฉียงเหนือและเกาะฟรันซ์โจเซฟแลนด์ (Franz Josef Land) และเกาะโนวายาเซมเลีย (Novaya Zemlya) ของรัสเซียทางตะวันออกเฉียงเหนือและทางตะวันออก เกาะโนวายาเซมเลียแยกทะเลคาราออกจากทะเลแบเร็นตส์ ในยุคกลาง ทะเลนี้มีชื่อเรียกว่า ทะเลมูร์มัน (Murman Sea) ส่วนชื่อของทะเลในปัจจุบันมาจากชื่อนักเดินเรือชาวดัตช์ชื่อวิลเลิม บาเรินตส์ (Willem Barentsz) ทะเลแบเร็นตส์เป็นแหล่งที่มีน้ำมันจากซากสัตว์ดึกดำบรรพ์[2]

อ้างอิง

  1. World Wildlife Fund, 2008.
  2. O. G. Austvik, 2006.

ดูเพิ่ม