ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัคคุเทศก์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ส่วนประเภทลอกมา ส่วนข้อควรรู้ไม่เป็นสารานุกรม
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
การรองรับคุณวุฒิการนำเที่ยวถือเป็นสิ่งจำเพาะของแต่ละประเทศและในแต่ละเหตุการณ์ ในบางกรณี การรับรองนี้อยู่ในระดับประเทศ ในบางกรณี อยู่ในระดับภูมิภาค ในทุกกรณี การนำเที่ยวมักขึ้นอยู่กับหลักจริยธรรมและศีลธรรมในการศึกษาและการฝึกงานของประเทศนั้นๆ ศิลปะการนำเที่ยวถือเป็นงานฝีมือ ต้องมีความสามารถในการรับรู้และเลือกบอกข้อมูลให้แต่ละกลุ่มผู้ฟัง ความสามารถในการส่งต่อข้อมูลโดยใช้วิธีที่ง่ายและตรงไปตรงมา ความสามารถที่จะให้ผู้มาเที่ยวเห็นและรับรู้ด้วยตัวเองในเวลาเดียวกัน
การรองรับคุณวุฒิการนำเที่ยวถือเป็นสิ่งจำเพาะของแต่ละประเทศและในแต่ละเหตุการณ์ ในบางกรณี การรับรองนี้อยู่ในระดับประเทศ ในบางกรณี อยู่ในระดับภูมิภาค ในทุกกรณี การนำเที่ยวมักขึ้นอยู่กับหลักจริยธรรมและศีลธรรมในการศึกษาและการฝึกงานของประเทศนั้นๆ ศิลปะการนำเที่ยวถือเป็นงานฝีมือ ต้องมีความสามารถในการรับรู้และเลือกบอกข้อมูลให้แต่ละกลุ่มผู้ฟัง ความสามารถในการส่งต่อข้อมูลโดยใช้วิธีที่ง่ายและตรงไปตรงมา ความสามารถที่จะให้ผู้มาเที่ยวเห็นและรับรู้ด้วยตัวเองในเวลาเดียวกัน


== ประเภทของมัคคุเทศก์ ==
[[ไฟล์:บัตรมัคคุเทศก์.jpg|thumb|220px|alt=บัตรมัคคุเทศก์ทั่วไป ต่างประเทศ.|บัตรมัคคุเทศก์ทั่วไป (ต่างประเทศ) แถบสีบรอนซ์เงิน นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศ สามารถนำเที่ยวได้ทั่วราชอาณาจักร]]
; มัคคุเทศก์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. มัคคุเทศก์ทั่วไป มี 2 ชนิด คือ
* 1.1 มัคคุเทศก์ทั่วไป (ต่างประเทศ) แถบสีบรอนซ์เงิน นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศ สามารถนำเที่ยวได้ทั่วราชอาณาจักร
* 1.2 มัคคุเทศก์ทั่วไป (ไทย) แถบสีบรอนซ์ทอง นำเที่ยวได้เฉพาะนักท่องเที่ยวชาวไทย สามารถนำเที่ยวได้ทั่วราชอาณาจักร<ref>[http://www.tourism.go.th/home/details/6/189/2218 ตัวอย่างบัตรประจำตัวมัคคุเทศก์]</ref><ref>[http://th.jobsdb.com/th-th/articles/เรื่องบัตรมัคคุเทศก์ ความรู้เรื่องบัตรมัคคุเทศก์]</ref>

2. มัคคุเทศก์เฉพาะ มี 8 ชนิด คือ
* 2.1 มัคคุเทศก์เฉพาะ (ต่างประเทศเฉพาะพื้นที่) แถบสีชมพู นำเที่ยวให้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศ เฉพาะจังหวัดที่ระบุไว้บนบัตรและจังหวัดที่มีพื้นที่ติดต่อ
* 2.2 มัคคุเทศก์เฉพาะ (ไทยเฉพาะพื้นที่) แถบสีฟ้า นำเที่ยวเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวไทย เฉพาะจังหวัดที่ระบุไว้บนบัตรและจังหวัดที่มีพื้นที่ติดต่อ
* 2.3 มัคคุเทศก์เฉพาะ (เดินป่า) แถบสีเขียว นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศในเขตพื้นที่ป่า
* 2.4 มัคคุเทศก์เฉพาะ (ศิลปวัฒนธรรม) แถบสีแดง นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศทางด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมวรรณคดีไทย ได้ทั่วราชอาณาจักร
* 2.5 มัคคุเทศก์เฉพาะ (ทางทะเล) แถบสีส้ม นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศในเขตพื้นที่ทางทะเล
* 2.6 มัคคุเทศก์เฉพาะ (ทะเลชายฝั่ง) แถบสีเหลือง นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศในเขตพื้นที่ทางทะเลหรือเกาะต่างๆ โดยมีระยะห่างจากชายฝั่งถึงสถานที่ท่องเที่ยวได้ไม่เกิน ๔๐ ไมล์ทะเล
* 2.7 มัคคุเทศก์เฉพาะ (แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ) แถบสีม่วง นำเที่ยวให้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศเฉพาะภายในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่ระบุชื่อไว้บนบัตร
* 2.8 มัคคุเทศก์เฉพาะ (วัฒนธรรมท้องถิ่น) แถบสีน้ำตาล นำเที่ยวให้แก่นักท่องเที่ยวชาวไทย หรือชาวต่างประเทศทางด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมประเพณีประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โบราณคดี เฉพาะภายในแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่นที่ระบุชื่อไว้ในบัตรเท่านั้น


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:44, 9 เมษายน 2558

มัคคุเทศก์ (หรือ ไกด์ท่องเที่ยว) เป็นผู้ที่ให้ความช่วยเหลือ ข้อมูล ความเข้าใจทางด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ร่วมสมัยต่างๆแก่บุคคที่อยู่ในกลุ่มท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวเอกเทศ หรือนักท่องเที่ยวในกรณีทัศนศึกษาที่สถานีทางศาสนาหรือประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความสนใจอื่นๆ[1] มัคคุเทศก์ส่วนใหญ่จะได้รับการรับรองจากองค์กรที่เกี่ยวข้องก่อนเข้าทำงาน ทั้งนี้ จะขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละประเทศและภูมิภาค

ตามสมาคมมาตรฐานยุโรป คำจำกัดความของคำว่า "มัคคุเทศก์" คือ:

บุคคลที่นำพาซึ่งผู้เยี่ยมชมในภาษาที่ผู้เยี่ยมชมเลือกและอธิบายซึ่งวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติของพื้นที่นั้นๆ โดยบุคคลนั้นมักมีหนังสือรับรองคุณวัฒิที่ออกให้โดยหรือยอมรับโดยทางการ[ต้องการอ้างอิง]

การรองรับคุณวุฒิการนำเที่ยวถือเป็นสิ่งจำเพาะของแต่ละประเทศและในแต่ละเหตุการณ์ ในบางกรณี การรับรองนี้อยู่ในระดับประเทศ ในบางกรณี อยู่ในระดับภูมิภาค ในทุกกรณี การนำเที่ยวมักขึ้นอยู่กับหลักจริยธรรมและศีลธรรมในการศึกษาและการฝึกงานของประเทศนั้นๆ ศิลปะการนำเที่ยวถือเป็นงานฝีมือ ต้องมีความสามารถในการรับรู้และเลือกบอกข้อมูลให้แต่ละกลุ่มผู้ฟัง ความสามารถในการส่งต่อข้อมูลโดยใช้วิธีที่ง่ายและตรงไปตรงมา ความสามารถที่จะให้ผู้มาเที่ยวเห็นและรับรู้ด้วยตัวเองในเวลาเดียวกัน


อ้างอิง

ข้อควรรู้

"มัคคุเทศก์" เป็นการผสมคำซึ่งเป็นสมาสของคำว่า "มรรค" หรือ "มคค" (ทาง) กับคำว่า "อุทเทสก" (ผู้ชี้แจง) โดยสรุปได้เป็นคำจำกัดความว่า มัคคุเทศก์

แหล่งข้อมูลอื่น