ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลหะทรานซิชัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Coach5551 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Coach5551 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 96: บรรทัด 96:
[[หมวดหมู่:ธาตุเคมี|*]]
[[หมวดหมู่:ธาตุเคมี|*]]


ธาตุทรานซิชัน
''ธาตุทรานซิชัน''

กลุ่มธาตุใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีตำแหน่งอยู่ระหว่างหมู่ II A และ III A ในตารางธาตุ เรียกว่าธาตุทรานซิชัน และโดยที่ธาตุเหล่านี้ทุกธาตุเป็นโลหะ จึงนิยมเรียกโลหะทรานซิชันด้วย ธาตุเหล่านี้แตกต่างกับธาตุเรพรีเซนเตตีฟ คือ เริ่มมีการเติมอิเล็กตรอนเข้าไปยังเชลล์ย่อย d หรือ f แต่เดิมให้นิยามของธาตุทรานซิชันว่า เป็นธาตุซึ่งเมื่อเป็นธาตุอิสระหรือเมื่ออยู่ในรูปของสารประกอบ อิเล็กตรอนอยู่ไม่เต็มในเชลล์ย่อย d หรือ f แต่ต่อมาได้มีการให้คำนิยามใหม่โดยเน้นสมบัติทางเคมีของธาตุเหล่านี้ นิยามใหม่ของธาตุทรานซิชันคือ เป็นธาตุที่มีอย่างน้อย 1 อิออนมีอิเล็กตรอนบรรจุในเชลล์ย่อย d หรือ f ไม่เต็ม ตามนิยามนี้ธาตุสแกนเดียม (Sc) ซึ่งมีโครงสร้างอิเล็กโตรนิกเป็น[Ar] 3d1 4s2 เมื่อรวมตัวกับสารอื่นให้วาเลนซ์อิเล็กตรอนไปหมดเกิดเป็น Sc3+ อิออนนี้ไม่มีอิเล็กตรอนเหลือในเชลล์ย่อย d เลย ประกอบกับสแกนเดียมมีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว+3 ดังนั้นตามนิยามใหม่นี้ Sc ไม่จัดเป็นโลหะทรานซิชัน สังกะสี (ZN) ก็เช่นกันเมื่อเกิดเป็นสารประกอบ มีเลขออกซิเดชันเป็น +2 ได้เพียงค่าเดียว และ Zn2+ มีโครงสร้างอิเล็กโตรนิกเป็น [Ar]3d10ซึ่งมีอิเล็กตรอนเต็มในเชลล์ย่อย d จึงไม่จัดเป็นโลหะทรานซิชันเช่นกัน (จัด Zn เป็นposttransition element) ส่วนทองแดง (Cu) มีอิออน Cu2+จะมีอิเล็กตรอนอยู่เต็มในเชลล์ย่อย d([Ar]3d10)ก็ตาม จัดเป็นโลหะทรานซิชันเพราะเข้าข่ายตามนิยามที่ว่ามีอิออนอย่างน้อย 1 อิออน มีอิเล็กตรอนในเชลล์ย่อย d ไม่เต็ม
กลุ่มธาตุใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีตำแหน่งอยู่ระหว่างหมู่ II A และ III A ในตารางธาตุ เรียกว่าธาตุทรานซิชัน และโดยที่ธาตุเหล่านี้ทุกธาตุเป็นโลหะ จึงนิยมเรียกโลหะทรานซิชันด้วย ธาตุเหล่านี้แตกต่างกับธาตุเรพรีเซนเตตีฟ คือ เริ่มมีการเติมอิเล็กตรอนเข้าไปยังเชลล์ย่อย d หรือ f แต่เดิมให้นิยามของธาตุทรานซิชันว่า เป็นธาตุซึ่งเมื่อเป็นธาตุอิสระหรือเมื่ออยู่ในรูปของสารประกอบ อิเล็กตรอนอยู่ไม่เต็มในเชลล์ย่อย d หรือ f แต่ต่อมาได้มีการให้คำนิยามใหม่โดยเน้นสมบัติทางเคมีของธาตุเหล่านี้ นิยามใหม่ของธาตุทรานซิชันคือ เป็นธาตุที่มีอย่างน้อย 1 อิออนมีอิเล็กตรอนบรรจุในเชลล์ย่อย d หรือ f ไม่เต็ม ตามนิยามนี้ธาตุสแกนเดียม (Sc) ซึ่งมีโครงสร้างอิเล็กโตรนิกเป็น[Ar] 3d1 4s2 เมื่อรวมตัวกับสารอื่นให้วาเลนซ์อิเล็กตรอนไปหมดเกิดเป็น Sc3+ อิออนนี้ไม่มีอิเล็กตรอนเหลือในเชลล์ย่อย d เลย ประกอบกับสแกนเดียมมีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว+3 ดังนั้นตามนิยามใหม่นี้ Sc ไม่จัดเป็นโลหะทรานซิชัน สังกะสี (ZN) ก็เช่นกันเมื่อเกิดเป็นสารประกอบ มีเลขออกซิเดชันเป็น +2 ได้เพียงค่าเดียว และ Zn2+ มีโครงสร้างอิเล็กโตรนิกเป็น [Ar]3d10ซึ่งมีอิเล็กตรอนเต็มในเชลล์ย่อย d จึงไม่จัดเป็นโลหะทรานซิชันเช่นกัน (จัด Zn เป็นposttransition element) ส่วนทองแดง (Cu) มีอิออน Cu2+จะมีอิเล็กตรอนอยู่เต็มในเชลล์ย่อย d([Ar]3d10)ก็ตาม จัดเป็นโลหะทรานซิชันเพราะเข้าข่ายตามนิยามที่ว่ามีอิออนอย่างน้อย 1 อิออน มีอิเล็กตรอนในเชลล์ย่อย d ไม่เต็ม

ธาตุทรานซิชันเป็นโลหะทุกธาตุ จึงมีสมบัติของโลหะบางประการเช่น ปรากฏแวววาว เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี ในบรรดาโลหะทั้งหลาย โลหะเงิน ( Ag ) เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดีที่สุด ถัดไปได้แก่ทองแดง ( Cu ) นี้เป็นเหตุผลที่ใช้ทองแดงที่ใช้ทองแดงทำเป็นเส้นลวดไฟฟ้า ส่วนโลหะเงินนิยมใช้ฉาบกระจกเงาเพราะสมบัติการสะท้อนแสง ( reflectivity ) อย่างดีเลิศของมันนั่นเอง
ธาตุทรานซิชันเป็นโลหะทุกธาตุ จึงมีสมบัติของโลหะบางประการเช่น ปรากฏแวววาว เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี ในบรรดาโลหะทั้งหลาย โลหะเงิน ( Ag ) เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดีที่สุด ถัดไปได้แก่ทองแดง ( Cu ) นี้เป็นเหตุผลที่ใช้ทองแดงที่ใช้ทองแดงทำเป็นเส้นลวดไฟฟ้า ส่วนโลหะเงินนิยมใช้ฉาบกระจกเงาเพราะสมบัติการสะท้อนแสง ( reflectivity ) อย่างดีเลิศของมันนั่นเอง
สมบัติทางกายภาพของธาตุทรานซิชัน
สมบัติทางกายภาพของธาตุทรานซิชัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:26, 26 มีนาคม 2558

โลหะทรานซิชัน (อังกฤษ: transition metal) มีการนิยามความหมายของโลหะทรานซิชันในอนุกรมเคมี 2 ประการดังนี้

  1. หมายถึงธาตุในบล็อก-ดี (d-block) ของตารางธาตุซึ่งประกอบด้วยสังกะสี (Zn) และสแคนเดียม (Sc) ซึ่งหมายรวมถึงธาตุทั้งหมดในตารางธาตุหมู่ที่ 3 ถึง 12
  2. ธาตุในบล็อก-ดี (d-block) ทั้งหมดนี้จะมีอย่างน้อย 1 รูปแบบ ที่มี 1 ไอออน ที่อยู่ในวงโคจร-ดี (d shell of electrons)

ธาตุทรานซิชัน

โลหะทรานซิชันมีทั้งหมด 40 ตัว จะประกอบด้วยธาตุที่มีเลขอะตอมดังนี้ 21 ถึง 30,39 ถึง 48,71 ถึง 80, และ 103 ถึง 112 ชื่อ "ทรานซิชัน" มาจากตำแหน่งของมันในตารางธาตุทั้ง 4 คาบที่มันอยู่ ธาตุเหล่านี้จะแทนการเพิ่มจำนวนอิเล็กตรอนเข้าไปอยู่ในวงโคจร ดี ของอะตอม (atomic orbital) ด้วยเหตุนี้ โลหะทรานซิชันจึงมีความหมายถึงการส่งผ่าน (transition) ของธาตุหมู่ 2 และหมู่ 13

หมู่ 3 (III B) 4 (IV B) 5 (V B) 6 (VI B) 7 (VII B) 8 (VIII B) 9 (VIII B) 10 (VIII B) 11 (I B) 12 (II B)
คาบ 4 Sc 21 Ti 22 V 23 Cr 24 Mn 25 Fe 26 Co 27 Ni 28 Cu 29 Zn 30
คาบ 5 Y 39 Zr 40 Nb 41 Mo 42 Tc 43 Ru 44 Rh 45 Pd 46 Ag 47 Cd 48
คาบ 6 Lu 71 Hf 72 Ta 73 W 74 Re 75 Os 76 Ir 77 Pt 78 Au 79 Hg 80
คาบ 7 Lr 103 Rf 104 Db 105 Sg 106 Bh 107 Hs 108 Mt 109 Ds 110 Rg 111 Cn 112

สมบัติของโลหะทรานซิชัน

  • โลหะทรานซิชันทุกธาตุจะเป็นโลหะ แต่มีความเป็นโลหะน้อยกว่าธาตุหมู่ IA และ IIA
  • มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ยกเว้นปรอทที่เป็นของเหลว
  • มีจุดหลอมเหลว จุดเดือด และความหนาแน่นสูง
  • นำไฟฟ้าได้ดี ซึ่งในโลหะทรานซิชัน ธาตุที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุดคือ เงิน (คาบ 5) และรองลงมาคือ ทอง (คาบ 6)
  • นำความร้อนได้ดี
  • ธาตุทรานซิชันทั้งหมดมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 ยกเว้นธาตุโครเมียม และทองแดง ที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น 1
  • สารประกอบของธาตุเหล่านี้จะมีสีสัน
  • มีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 และอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ
  • ขนาดอะตอม จะมีขนาดไม่แตกต่างกันมากโดยที่
    • ในคาบเดียวกันจะเล็กจากซ้ายไปขวา
    • ในหมู่เดียวกันจะใหญ่จากบนลงล่าง
  • ธาตุเหล่านี้มีหลายออกซิเดชั่นสเตตส์ (oxidation states)
  • ธาตุเหล่านี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (catalysts) ที่ดี
  • ธาตุเหล่านี้มีสีฟ้า-เงินที่อุณหภูมิห้อง (ยกเว้นทองคำและทองแดง)
  • สารประกอบของธาตุเหล่านี้สามารถจำแนกโดยการวิเคราะห์ผลึก

แม่แบบ:อนุกรมเคมี

หมู่ 1 2   3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
ไฮโดรเจน,
โลหะ­แอลคาไล
โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท หมู่โบรอน หมู่คาร์บอน นิกโท­เจน แคลโค­เจน แฮโลเจน แก๊สมีสกุล
คาบ
1
ไฮโดร­เจน1H1.0080 ฮี­เลียม2He4.0026
2 ลิ­เทียม3Li6.94 เบริล­เลียม4Be9.0122 โบรอน5B10.81 คาร์บอน6C12.011 ไนโตร­เจน7N14.007 ออกซิ­เจน8O15.999 ฟลูออ­รีน9F18.998 นีออน10Ne20.180
3 โซ­เดียม11Na22.990 แมกนี­เซียม12Mg24.305 อะลูมิ­เนียม13Al26.982 ซิลิ­คอน14Si28.085 ฟอส­ฟอรัส15P30.974 กำมะ­ถัน16S32.06 คลอรีน17Cl35.45 อาร์กอน18Ar39.95
4 โพแทส­เซียม19K39.098 แคล­เซียม20Ca40.078 สแกน­เดียม21Sc44.956 ไทเท­เนียม22Ti47.867 วาเน­เดียม23V50.942 โคร­เมียม24Cr51.996 แมงกา­นีส25Mn54.938 เหล็ก26Fe55.845 โคบอลต์27Co58.933 นิกเกิล28Ni58.693 ทองแดง29Cu63.546 สังกะสี30Zn65.38 แกลเลียม31Ga69.723 เจอร์เม­เนียม32Ge72.630 สารหนู33As74.922 ซีลี­เนียม34Se78.971 โบรมีน35Br79.904 คริปทอน36Kr83.798
5 รูบิ­เดียม37Rb85.468 สตรอน­เชียม38Sr87.62 อิต­เทรียม39Y88.906 เซอร์โค­เนียม40Zr91.224 ไนโอ­เบียม41Nb92.906 โมลิบ­ดีนัม42Mo95.95 เทคนี­เชียม43Tc​[97] รูที­เนียม44Ru101.07 โร­เดียม45Rh102.91 แพลเล­เดียม46Pd106.42 เงิน47Ag107.87 แคด­เมียม48Cd112.41 อิน­เดียม49In114.82 ดีบุก50Sn118.71 พลวง51Sb121.76 เทลลู­เรียม52Te127.60 ไอโอ­ดีน53I126.90 ซีนอน54Xe131.29
6 ซี­เซียม55Cs132.91 แบ­เรียม56Ba137.33 1 asterisk ลูที­เชียม71Lu174.97 แฮฟ­เนียม72Hf178.49 แทนทา­ลัม73Ta180.95 ทัง­สเตน74W183.84 รี­เนียม75Re186.21 ออส­เมียม76Os190.23 อิริ­เดียม77Ir192.22 แพล­ทินัม78Pt195.08 ทองคำ79Au196.97 ปรอท80Hg200.59 แทล­เลียม81Tl204.38 ตะกั่ว82Pb207.2 บิสมัท83Bi208.98 พอโล­เนียม84Po​[209] แอส­ทาทีน85At​[210] เรดอน86Rn​[222]
7 แฟรน­เซียม87Fr​[223] เรเดียม88Ra​[226] 1 asterisk ลอว์เรน­เซียม103Lr​[266] รัทเทอร์­ฟอร์เดียม104Rf​[267] ดุบ­เนียม105Db​[268] ซีบอร์­เกียม106Sg​[269] โบห์­เรียม107Bh​[270] ฮัส­เซียม108Hs​[269] ไมต์­เนเรียม109Mt​[278] ดาร์ม­สตัดเทียม110Ds​[281] เรินต์­เกเนียม111Rg​[282] โคเปอร์­นิเซียม112Cn​[285] นิโฮ­เนียม113Nh​[286] ฟลิโร­เวียม114Fl​[289] มอสโก­เวียม115Mc​[290] ลิเวอร์­มอเรียม116Lv​[293] เทนเนส­ซีน117Ts​[294] โอกา­เนสซอน118Og​[294]
1 asterisk แลน­ทานัม57La138.91 ซี­เรียม58Ce140.12 เพรซีโอ­ดิเมียม59Pr140.91 นีโอ­ดิเมียม60Nd144.24 โพรมี­เทียม61Pm​[145] ซาแม­เรียม62Sm150.36 ยูโร­เพียม63Eu151.96 แกโด­ลิเนียม64Gd157.25 เทอร์­เบียม65Tb158.93 ดิสโพร­เซียม66Dy162.50 โฮล­เมียม67Ho164.93 เออร์­เบียม68Er167.26 ทู­เลียม69Tm168.93 อิตเทอร์­เบียม70Yb173.05  
1 asterisk แอกทิ­เนียม89Ac​[227] ทอ­เรียม90Th232.04 โพรแทก­ทิเนียม91Pa231.04 ยูเร­เนียม92U238.03 เนปทู­เนียม93Np​[237] พลูโท­เนียม94Pu​[244] อะเมริ­เซียม95Am​[243] คูเรียม96Cm​[247] เบอร์คี­เลียม97Bk​[247] แคลิฟอร์­เนียม98Cf​[251] ไอน์สไต­เนียม99Es​[252] เฟอร์­เมียม100Fm​[257] เมนเด­ลีเวียม101Md​[258] โนเบ­เลียม102No​[259]

ธาตุทรานซิชัน

  กลุ่มธาตุใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีตำแหน่งอยู่ระหว่างหมู่  II A  และ III A ในตารางธาตุ เรียกว่าธาตุทรานซิชัน และโดยที่ธาตุเหล่านี้ทุกธาตุเป็นโลหะ จึงนิยมเรียกโลหะทรานซิชันด้วย ธาตุเหล่านี้แตกต่างกับธาตุเรพรีเซนเตตีฟ คือ เริ่มมีการเติมอิเล็กตรอนเข้าไปยังเชลล์ย่อย d หรือ f แต่เดิมให้นิยามของธาตุทรานซิชันว่า   เป็นธาตุซึ่งเมื่อเป็นธาตุอิสระหรือเมื่ออยู่ในรูปของสารประกอบ อิเล็กตรอนอยู่ไม่เต็มในเชลล์ย่อย d หรือ f แต่ต่อมาได้มีการให้คำนิยามใหม่โดยเน้นสมบัติทางเคมีของธาตุเหล่านี้ นิยามใหม่ของธาตุทรานซิชันคือ เป็นธาตุที่มีอย่างน้อย 1 อิออนมีอิเล็กตรอนบรรจุในเชลล์ย่อย d หรือ f ไม่เต็ม  ตามนิยามนี้ธาตุสแกนเดียม (Sc) ซึ่งมีโครงสร้างอิเล็กโตรนิกเป็น[Ar] 3d1 4s2 เมื่อรวมตัวกับสารอื่นให้วาเลนซ์อิเล็กตรอนไปหมดเกิดเป็น Sc3+ อิออนนี้ไม่มีอิเล็กตรอนเหลือในเชลล์ย่อย d เลย ประกอบกับสแกนเดียมมีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว+3 ดังนั้นตามนิยามใหม่นี้ Sc ไม่จัดเป็นโลหะทรานซิชัน สังกะสี (ZN) ก็เช่นกันเมื่อเกิดเป็นสารประกอบ มีเลขออกซิเดชันเป็น +2 ได้เพียงค่าเดียว และ Zn2+ มีโครงสร้างอิเล็กโตรนิกเป็น [Ar]3d10ซึ่งมีอิเล็กตรอนเต็มในเชลล์ย่อย d จึงไม่จัดเป็นโลหะทรานซิชันเช่นกัน (จัด Zn เป็นposttransition element) ส่วนทองแดง (Cu) มีอิออน Cu2+จะมีอิเล็กตรอนอยู่เต็มในเชลล์ย่อย d([Ar]3d10)ก็ตาม จัดเป็นโลหะทรานซิชันเพราะเข้าข่ายตามนิยามที่ว่ามีอิออนอย่างน้อย 1 อิออน มีอิเล็กตรอนในเชลล์ย่อย d ไม่เต็ม

ธาตุทรานซิชันเป็นโลหะทุกธาตุ จึงมีสมบัติของโลหะบางประการเช่น ปรากฏแวววาว เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี ในบรรดาโลหะทั้งหลาย โลหะเงิน ( Ag ) เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดีที่สุด ถัดไปได้แก่ทองแดง ( Cu ) นี้เป็นเหตุผลที่ใช้ทองแดงที่ใช้ทองแดงทำเป็นเส้นลวดไฟฟ้า ส่วนโลหะเงินนิยมใช้ฉาบกระจกเงาเพราะสมบัติการสะท้อนแสง ( reflectivity ) อย่างดีเลิศของมันนั่นเอง สมบัติทางกายภาพของธาตุทรานซิชัน

  โดยทั่วไปสมบัติทางกายภาพของธาตุทรานซิชันแตกต่างกันออกไป บ้างก็มีความแข็งแกร่งบ้าง  บ้างก็อ่อน  บ้างก็ว่องไวต่อปฏิกิริยา  บ้างก็เฉลี่ย
  1. Meija, Juris; และคณะ (2016). "Atomic weights of the elements 2013 (IUPAC Technical Report)". Pure and Applied Chemistry. 88 (3): 265–91. doi:10.1515/pac-2015-0305.
  2. Prohaska, Thomas; Irrgeher, Johanna; Benefield, Jacqueline; และคณะ (2022-05-04). "Standard atomic weights of the elements 2021 (IUPAC Technical Report)". Pure and Applied Chemistry (ภาษาอังกฤษ). doi:10.1515/pac-2019-0603. ISSN 1365-3075.