ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลี กวนยู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| name = ลี กวนยู<br>李光耀
| name = ลี กวนยู<br>李光耀
| image = Lee Kuan Yew.jpg
| image = Lee Kuan Yew.jpg
| order = [[นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์]]คนที่ 1
| order = [[นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์]]คนที่แรก
| term_start = 3 มิถุนายน พ.ศ. 2502
| term_start = 3 มิถุนายน พ.ศ. 2502
| term_end = 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533
| term_end = 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| deputy2 =
| deputy2 =
| predecessor2 = ''สถาปนาตำแหน่ง''
| predecessor2 = ''สถาปนาตำแหน่ง''
| successor2 = ''ยุบเลิกตำแหน่ง''
| successor2 = ''ยุบรวมตำแหน่ง''


| order3 = [[รัฐมนตรีอาวุโส]]
| order3 = [[รัฐมนตรีอาวุโส]]
บรรทัด 28: บรรทัด 28:


| birth_date = 16 กันยายน พ.ศ. 2466
| birth_date = 16 กันยายน พ.ศ. 2466
| birth_place = [[สิงคโปร์]] [[นิคมช่องแคบ]]
| birth_place = นิคมช่องแคบสิงคโปร์ ภายใต้การปกครองของอังกฤษ [[สิงคโปร์]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2558|3|23|2466|9|16}}
| death_date = {{วันตายและอายุ|2558|3|23|2466|9|16}}
| death_place = [[Outram]], [[สิงคโปร์]]
| death_place = เอาท์แรม, [[สิงคโปร์]]
| party = [[พรรคกิจประชาชน]]
| party = [[พรรคกิจประชาชน]]
| spouse = [[กวา ค็อก ชู]]
| spouse = [[กวา ค็อก ชู]]
| religion = [[อไญยนิยม]]
| religion = [[อเทวนิยม]]
| signature =
| signature =
| footnotes =
| footnotes =
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
'''ลี กวนยู''' ({{lang-zh|李光耀}}; [[พินอิน]]: Lǐ Guāngyào, ''หลี่ กวงเย่า''; 16 กันยายน พ.ศ. 2466 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป็นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่
'''ลี กวนยู''' ({{lang-zh|李光耀}}; [[พินอิน]]: Lǐ Guāngyào, ''หลี่ กวงเย่า''; 16 กันยายน พ.ศ. 2466 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป็นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่


เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเลขาธิการ[[พรรคกิจประชาชน]] (People's Action Party) คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งตั้งแต่ปี 2502 ถึง 2533 และควบคุมการแยกสิงคโปร์จาก[[ประเทศมาเลเซีย]]ในปี 2508 และการแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้างด้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเป็น[[สี่เสือเอเชีย|เสือเอเชีย]] "[[โลกที่หนึ่ง]]" ในกาลต่อมา เขาเป็นบุคคลการเมืองทรงอิทธิพลที่สุดในทวีปเอเชียคนหนึ่ง<ref name = "Time 1999">{{Cite news |last=McCarthy |first= Terry |url= http://www.time.com/time/asia/asia/magazine/1999/990823/lee1.html |title=Lee Kuan Yew |newspaper= Time Asia |location= Hong Kong |date=23 August 1999 |quote=Lee Kuan Yew towers over other Asian leaders on the international stage ...}}</ref>
เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเลขาธิการ[[พรรคกิจประชาชน]] (People's Action Party) คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งตั้งแต่ปี 2502 ถึง 2533 และควบคุมการแยกสิงคโปร์จาก[[ประเทศมาเลเซีย]]ในปี 2508 และการแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้างด้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเป็น[[สี่เสือเอเชีย|เสือเอเชีย]] "[[โลกที่หนึ่ง]]" ในกาลต่อมา เขาเป็นบุคคลการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในทวีปเอเชียคนหนึ่ง<ref name = "Time 1999">{{Cite news |last=McCarthy |first= Terry |url= http://www.time.com/time/asia/asia/magazine/1999/990823/lee1.html |title=Lee Kuan Yew |newspaper= Time Asia |location= Hong Kong |date=23 August 1999 |quote=Lee Kuan Yew towers over other Asian leaders on the international stage ...}}</ref>


นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง [[โก๊ะ จ๊กตง]] แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 2533 เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษา[[รัฐมนตรีที่ปรึกษา]] ตั้งโดยบุตรของเขา [[ลี เซียนลุง]] เมื่อลี เซียนลุงเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สามของประเทศในเดือนสิงหาคม 2547<ref>{{Cite news
นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง [[โก๊ะ จ๊กตง]] แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 2533 เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษา[[รัฐมนตรีที่ปรึกษา]] ตั้งโดยบุตรของเขา [[ลี เซียนลุง]] เมื่อลี เซียนลุงเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สามของประเทศในเดือนสิงหาคม 2547<ref>{{Cite news
บรรทัด 60: บรรทัด 60:
| date=14 May 2011}}</ref> แต่ลียังเป็นสมาชิกรัฐสภา
| date=14 May 2011}}</ref> แต่ลียังเป็นสมาชิกรัฐสภา


ลีถูกรับเข้าโรงพยาบาลด้วย[[โรคปอดบวม]]ที่โรงพยาบาลสิงคโปร์ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ขณะติดเครื่องช่วยหายใจกล อาการของเขาเมื่อวันที่ 21 มีนาคมทรุดลงหลัง "ป่วยวิกฤต" และเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม<ref>{{Cite news
ลีถูกรับเข้าโรงพยาบาลด้วย[[โรคปอดบวม]]ที่โรงพยาบาลสิงคโปร์ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ขณะติดเครื่องช่วยหายใจกล อาการของเขาเมื่อวันที่ 21 มีนาคมทรุดลงหลังป่วยอย่างหนักและเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม<ref>{{Cite news
| title = Singapore's Lee Kuan Yew dies at 91
| title = Singapore's Lee Kuan Yew dies at 91
| url = http://www.bbc.com/news/world-asia-32012346
| url = http://www.bbc.com/news/world-asia-32012346

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:08, 25 มีนาคม 2558

ลี กวนยู
李光耀
นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่แรก
ดำรงตำแหน่ง
3 มิถุนายน พ.ศ. 2502 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533
ประธานาธิบดียูซุฟ บิน อิซัค
เบนจามิน เฮนรี เชียร์ส
เชงการา วีทิว เดวาน แนร์
วี กิมวี
ก่อนหน้า-
ถัดไปโก๊ะ จ๊กตง
รัฐมนตรีที่ปรึกษา
ดำรงตำแหน่ง
12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
ประธานาธิบดีเซลลาปัน รามานาทาน
นายกรัฐมนตรีลี เซียนลุง
ก่อนหน้าสถาปนาตำแหน่ง
ถัดไปยุบรวมตำแหน่ง
รัฐมนตรีอาวุโส
ดำรงตำแหน่ง
28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 – 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547
ประธานาธิบดีเซลลาปัน รามานาทาน
ก่อนหน้าซินนาธัมบี ราชรัทนัม
ถัดไปโก๊ะ จ๊กตง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด16 กันยายน พ.ศ. 2466
นิคมช่องแคบสิงคโปร์ ภายใต้การปกครองของอังกฤษ สิงคโปร์
เสียชีวิต23 มีนาคม พ.ศ. 2558 (91 ปี)
เอาท์แรม, สิงคโปร์
ศาสนาอเทวนิยม
พรรคการเมืองพรรคกิจประชาชน
คู่สมรสกวา ค็อก ชู

ลี กวนยู (จีน: 李光耀; พินอิน: Lǐ Guāngyào, หลี่ กวงเย่า; 16 กันยายน พ.ศ. 2466 — 23 มีนาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนแรกซึ่งปกครองประเทศเป็นเวลาสามทศวรรษ เขาได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นบิดาผู้ก่อตั้งประเทศสิงคโปร์สมัยใหม่

เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งและเลขาธิการพรรคกิจประชาชน (People's Action Party) คนแรก และนำพรรคชนะการเลือกตั้งแปดครั้งตั้งแต่ปี 2502 ถึง 2533 และควบคุมการแยกสิงคโปร์จากประเทศมาเลเซียในปี 2508 และการแปลงจากด่านอาณานิคมค่อนข้างด้อยพัฒนาซึ่งไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเป็นเสือเอเชีย "โลกที่หนึ่ง" ในกาลต่อมา เขาเป็นบุคคลการเมืองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในทวีปเอเชียคนหนึ่ง[1]

นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์คนที่สอง โก๊ะ จ๊กตง แต่งตั้งเขาเป็นรัฐมนตรีอาวุโสในปี 2533 เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษารัฐมนตรีที่ปรึกษา ตั้งโดยบุตรของเขา ลี เซียนลุง เมื่อลี เซียนลุงเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่สามของประเทศในเดือนสิงหาคม 2547[2][3] ด้วยตำแหน่งรัฐมนตรีติดต่อกันเป็นเวลากว่า 50 ปีของเขา ลียังเป็นรัฐมนตรีที่รับราชการนานที่สุดในประวัติศาสตร์คนหนึ่ง เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2554 ลีและโก๊ะประกาศเกษียณจากคณะรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้งทั่วไปปี 2554[4] แต่ลียังเป็นสมาชิกรัฐสภา

ลีถูกรับเข้าโรงพยาบาลด้วยโรคปอดบวมที่โรงพยาบาลสิงคโปร์ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ขณะติดเครื่องช่วยหายใจกล อาการของเขาเมื่อวันที่ 21 มีนาคมทรุดลงหลังป่วยอย่างหนักและเขาถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม[5]

ประวัติ

ลี กวนยู เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2466 เป็นบุตรชาวจีนอพยพรุ่นที่ 3 ที่อพยพมาจากมณฑลฮกเกี้ยนใน ประเทศจีน ลี กวนยูเกิดในสิงคโปร์ โดยในขณะนั้นสิงค์โปรเป็นประเทศอาณานิคมของอังกฤษ อีกทั้งตัวของลี กวนยูยังอิทธิพลจากอาชีพของบรรพบุรุษซึ่งทำให้ลี กวนยูคุ้นเคยกับภาษาอังกฤษแ และได้เข้าศึกษาที่ “Raffles College” ซึ่งเป็นวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดใน “บริติส มาลายา” ของสิงคโปร์[6] ทำให้ลี กวนยูได้รับการปลูกฝังแนวความคิดตามแบบชาวตะวันกต หลังจากนั้นลี กวนยูก็ได้มีโอกาสศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ที่ประเทศอังกฤษในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2[7][8]

ในปี พ.ศ. 2486 ลีกวนยูก็ต้องหยุดชะงักการเรียนด้วยเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อญี่ปุ่นประกาศสงครามกับอังกฤษและเข้ารุกรานเพื่อยึดครองสิงคโปร์ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศอาณานิคมของอังกฤษเวลานั้น โดย ลี กวนยูได้เห็นกองทัพญี่ปุ่นแข็งแกร่งและมีชัยชนะเหนืออังกฤษทำให้ลีกวนยูจุดประกายความคิดขึ้นว่า แท้จริงแล้วคนเอเชียก็ไม่ได้ด้อยไปกว่าฝรั่งผิวขาวตาน้ำข้าวจากซีกโลกตะวันตกเลย เขาเปลี่ยนทัศนคติจากเดิมจากที่เคยคิดว่าคนเอเชียด้วยกว่าจนถูกล่าอาณานิคมเป็นว่าเล่น เหตุการณ์ครั้งนั้นเป็นอีกหนึ่งในจังหวะชีวิตของลีกวนยูเพราะเขาเริ่มหันมาสนใจงานด้านการเมืองและเริ่มมีแนวคิดที่จะต่อสู้เพื่ออิสรภาพ จนเมื่อสงครามจบลงลี กวนยูก็ได้ศึกษาด้านกฎหมายจนจบปริญญาถึง 2 ใบจาก The London School of Economics and Political Science และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในอังกฤษ และได้พบกับ “กว่าก๊อกชู” จึงปักใจแต่งงานกัน

ความคิดเรื่องการต่อสู้เพื่ออิสระภาพของลี กวนยู คุกรุ่นขึ้นเมื่อ “ชาวมาลายัน” ส่วนใหญ่เริ่มตีแผ่ถึงความไม่พอใจในการปกครองประเทศอาณานิคมของอังกฤษ เขาจึงตัดสินใจเข้าร่วมใน Malayans Forum เพื่อมีบทบาทในการตอบโต้กับประเทศอังกฤษเพ่อการเป็นอิสระจากอาณานิคมครั้งนี้


วัฒนธรรมสังคมนิยม

ภาพยนตร์

พ.ศ. 2558 - ภาพยนตร์ 1965 หนังอิงประวัติศาสตร์ เป็นหนังที่สร้างขึ้นเพื่อฉลองวาระการก่อตั้งประเทศสิงค์โปรครบรอบ 50 ปีโดยหนังได้เล่าเรื่องราวต้นกำเนิดของประเทศสิงค์โปรเมื่อปี พ.ศ. 2508[9]


อ้างอิง

  1. McCarthy, Terry (23 August 1999). "Lee Kuan Yew". Time Asia. Hong Kong. Lee Kuan Yew towers over other Asian leaders on the international stage ...
  2. "Why it's no change in Singapore". The Guardian. London. 16 August 2004.
  3. "Singapore told to feel free". The Guardian. London. Associated Press. 13 August 2004.
  4. "SM Goh, MM Lee to leave Cabinet". Channel NewsAsia. Singapore. 14 May 2011.
  5. "Singapore's Lee Kuan Yew dies at 91". BBC News. London. 23 March 2015.
  6. ลีกวนยู อดีตผู้นำความเจริญมาสู่สิงคโปร์แบบก้าวกระโดด
  7. ประวัติชีวิตและความสำเร็จ ‘ลี กวน ยู’ อดีตนายกฯ คนแรกของสิงคโปร์ผู้ล่วงลับ
  8. ประวัติ "ลี กวน ยู" รัฐบุรุษแห่งสิงคโปร์
  9. ชมตัวอย่าง 1965 หนังอิงประวัติศาสตร์ “ลีกวนยู” ประกาศเอกราชสิงคโปร์

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า ลี กวนยู ถัดไป
นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์
(3 มิถุนายน 2502 – 28 พฤศจิกายน 2533)
โก๊ะ จ๊กตง