ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปืนใหญ่ลำกล้อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มังกรๆๆๆๆๆๆๆ
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการก่อเกรียนหมู่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ปืนใหญ่''' หมายถึง [[อาวุธปืน]]ที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิง[[หัวกระสุน]]ด้วยแรงดันจากการเผาไหม้[[ดินส่งกระสุน]]ให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนว[[วิถีราบ]]หรือ[[วิถีโค้ง]] โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง
[[ไฟล์:Singora cannon.jpg|thumb|right|250px|ปืนใหญ่]]
'''ปืนใหญ่''' หมายถึง [[อาวุธปืน]]ที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิง[[หัวกระสุน]]ด้วยแรงดันจากการเผาไหม้[[ดินส่งกระสุน]]ให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนว[[วิถีราบ]]หรือ[[วิถีโค้ง]] โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิด[[การระเบิด]]สร้างความเสียหายอย่างรุนแรง


== ปืนใหญ่ในประเทศไทย ==
== ปืนใหญ่ในประเทศไทย ==
บรรทัด 7: บรรทัด 6:
อย่างไรก็ตาม การหล่อปืนใหญ่ของของอยุธยานั้นมีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก [[โชกุน]][[โทะกุงะวะ อิเอะยะสุ]]เคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจาก[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] นอกจากนี้ ในรัชกาล[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พระองค์ทรงส่งปืนใหญ่ 2 กระบอก<ref name="shooter">[http://issuu.com/lakmuangonline/docs/sirikit/79 หนังสือมองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ หน้า 79]</ref> ที่ผลิตในอยุธยาไปถวาย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองใช้[[การโจมตีคุกบาสตีย์|ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์]]<ref>[http://www.victorianweb.org/authors/carlyle/fr/bastille.html Chapter VI. Storm and Victory. July 14th, 1789. ย่อหน้า ที่ 6]</ref><ref>[http://www.persee.fr/web/revues/home/prescript/article/ahrf_0003-4436_1985_num_261_1_1121 A propos des canons siamois offerts à Louis XIV qui participèrent à la prise de la Bastille.]&nbsp;[http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/1921/JSS_015_1d_Sewell_SomeOldSiameseGuns.pdf ect. ( แผ่นที่ 5 )]</ref> ปัจจุบัน ปืนคู่นี้ตั้งแสดงในพิพิธภัณฑ์ทหารบกฝรั่งเศส<ref name="shooter"></ref>
อย่างไรก็ตาม การหล่อปืนใหญ่ของของอยุธยานั้นมีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก [[โชกุน]][[โทะกุงะวะ อิเอะยะสุ]]เคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจาก[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] นอกจากนี้ ในรัชกาล[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] พระองค์ทรงส่งปืนใหญ่ 2 กระบอก<ref name="shooter">[http://issuu.com/lakmuangonline/docs/sirikit/79 หนังสือมองประวัติศาสตร์ชาติไทยผ่านศัสตราวุธ หน้า 79]</ref> ที่ผลิตในอยุธยาไปถวาย[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองใช้[[การโจมตีคุกบาสตีย์|ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์]]<ref>[http://www.victorianweb.org/authors/carlyle/fr/bastille.html Chapter VI. Storm and Victory. July 14th, 1789. ย่อหน้า ที่ 6]</ref><ref>[http://www.persee.fr/web/revues/home/prescript/article/ahrf_0003-4436_1985_num_261_1_1121 A propos des canons siamois offerts à Louis XIV qui participèrent à la prise de la Bastille.]&nbsp;[http://www.siamese-heritage.org/jsspdf/1921/JSS_015_1d_Sewell_SomeOldSiameseGuns.pdf ect. ( แผ่นที่ 5 )]</ref> ปัจจุบัน ปืนคู่นี้ตั้งแสดงในพิพิธภัณฑ์ทหารบกฝรั่งเศส<ref name="shooter"></ref>


{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Cannon|ปืนใหญ่}}
{{คอมมอนส์|Cannon}}
== อ้างอิง ==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{วิกิพจนานุกรม}}


[[หมวดหมู่:ปืนใหญ่]]
[[หมวดหมู่:ปืนใหญ่]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:14, 15 กุมภาพันธ์ 2558

ปืนใหญ่ หมายถึง อาวุธปืนที่มีความกว้างปากลำกล้องตั้งแต่ 20 มิลลิเมตรขึ้นไป โดยมีระยะยิงกลางถึงไกล มีอำนาจทำลายล้างสูง ใช้การยิงหัวกระสุนด้วยแรงดันจากการเผาไหม้ดินส่งกระสุนให้เกิดก๊าซจนเคลื่อนที่ออกไป โดยสามารถทำการยิงได้ทั้งแนววิถีราบหรือวิถีโค้ง โดยภายในหัวกระสุนจะบรรจุวัตถุระเบิดและตัวจุดชนวน เมื่อหัวกระสุนตกกระทบเป้าหมายจะเกิดการระเบิดสร้างความเสียหายอย่างรุนแรง

ปืนใหญ่ในประเทศไทย

ปืนใหญ่ในประเทศไทยนั้นนำมาใช้เป็นเวลาช้านานแล้ว หนังสือวิวัฒนาการแห่งศัสตราวุธในกองทัพบกไทย[1] ว่า มีการใช้ปืนใหญ่สมัยสุโขทัย ชวาเก็บปืนใหญ่ไทยจำนวน 2 กระบอกจากการรบกับพวกมัชฌปาหิตในสงครามตีเมืองชวาประมาณ พ.ศ. 1857 และมีบันทึกในพระราชพงศาวดารว่า ในสมัยสมเด็จพระราเมศวร กองทัพอยุธยาใช้ปืนใหญ่ยิงกำแพงเมืองเชียงใหม่พังไป 5 วา[2] กฎหมายสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถก็กล่าวถึงหน่วยทหารปืนใหญ่เช่นกัน[3] อนึ่ง หลังจากที่โปรตุเกสเดินทางเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ก็เริ่มมีการซื้อปืนใหญ่ของโปรตุเกสเข้ามาประจำการในกองทัพกรุงศรีอยุธยา

อย่างไรก็ตาม การหล่อปืนใหญ่ของของอยุธยานั้นมีคุณภาพดีเป็นที่เลื่องลือมาก โชกุนโทะกุงะวะ อิเอะยะสุเคยส่งสารมาทูลขอพระราชทานปืนใหญ่และไม้หอมจากสมเด็จพระเอกาทศรถ นอกจากนี้ ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระองค์ทรงส่งปืนใหญ่ 2 กระบอก[4] ที่ผลิตในอยุธยาไปถวายพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 และได้มีบันทึกต่อมาว่า ปืนสองกระบอกนี้เองใช้ยิงทลายประตูคุกบาสตีย์[5][6] ปัจจุบัน ปืนคู่นี้ตั้งแสดงในพิพิธภัณฑ์ทหารบกฝรั่งเศส[4]

อ้างอิง


แม่แบบ:Link FA