ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยัน เอวังเกลิสตา ปูร์กิเญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
link farm
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


==ประวัติ==
==ประวัติ==
ยัน เอวังเกลิสตา ปุร์คินเย เกิดเมื่อ ค.ศ. 1787 ที่เมืองเล็กๆ ใน[[โบฮีเมีย]] (ปัจจุบันคือ [[สาธารณรัฐเช็ก]]) เขาเรียนจบจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยชาลส์ และต่อมาได้เป็น[[ศาสตราจารย์]]ด้านสรีรวิทยา เขาเป็นผู้ค้นพบปรากฏการณ์เพอร์คินจี ซึ่งอธิบายว่าทำไมมนุษย์จึงมองเห็นสีแดงได้ลดลงเมื่อเทียบกับสีน้ำเงิน และตีพิมพ์ผลงาน 2 เล่ม คือ ''Observations and Experiments Investigating the Physiology of Senses'' และ ''New Subjective Reports about Vision'' ที่เป็นจุดเริ่มต้นของวิชา[[จิตวิทยาเชิงทดลอง]]
ยัน เอวังเกลิสตา ปุร์คินเย เกิดเมื่อ ค.ศ. 1787 ที่เมืองเล็กๆ ใน[[โบฮีเมีย]] (ปัจจุบันคือ [[สาธารณรัฐเช็ก]]) เขาเรียนจบจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยชาลส์ และต่อมาได้เป็น[[ศาสตราจารย์]]ด้านสรีรวิทยา เขาเป็นผู้ค้นพบปรากฏการณ์เพอร์คินจี ซึ่งอธิบายว่าทำไมมนุษย์จึงมองเห็นสีแดงได้ลดลงเมื่อเทียบกับสีน้ำเงิน และตีพิมพ์ผลงาน 2 เล่ม คือ ''Observations and Experiments Investigating the Physiology of Senses'' และ ''New Subjective Reports about Vision'' ที่เป็นจุดเริ่มต้นของวิชา[[จิตวิทยา|จิตวิทยาเชิงทดลอง]]


ปุร์คินเยเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงานค้นพบหลายอย่าง ในปี ค.ศ. 1823 เขาเขียนวิทยานิพนธ์ที่ว่าด้วยลักษณะ 9 แบบของลายนิ้วมือ สิบปีต่อมา เขาก็ค้นพบ[[ต่อมเหงื่อ]] ต่อมาในปี ค.ศ. 1837 เขาก็ค้นพบ[[เซลล์เพอร์คินจี]] ซึ่งเป็น[[เซลล์ประสาท]]ขนาดใหญ่ที่มี[[เดนไดรต์]]หลายแขนงใน[[ซีรีเบลลัม]] และค้นพบเพอร์คินจีไฟเบอร์ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการส่งกระแสไฟฟ้าไปยัง[[หัวใจ|หัวใจห้องล่าง]] นอกจากนี้ เขายังค้นพบภาพสะท้อนเพอร์คินจี (Purkinje images) ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของวัตถุที่เกิดจากโครงสร้างในดวงตา รวมถึงริเริ่มการใช้คำว่า[[พลาสมา]]และ[[โพรโทพลาสซึม]]
ปุร์คินเยเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงานค้นพบหลายอย่าง ในปี ค.ศ. 1823 เขาเขียนวิทยานิพนธ์ที่ว่าด้วยลักษณะ 9 แบบของลายนิ้วมือ สิบปีต่อมา เขาก็ค้นพบ[[ต่อมเหงื่อ]] ต่อมาในปี ค.ศ. 1837 เขาก็ค้นพบ[[เซลล์เพอร์คินจี]] ซึ่งเป็น[[เซลล์ประสาท]]ขนาดใหญ่ที่มี[[เดนไดรต์]]หลายแขนงใน[[ซีรีเบลลัม]] และค้นพบเพอร์คินจีไฟเบอร์ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการส่งกระแสไฟฟ้าไปยัง[[หัวใจ|หัวใจห้องล่าง]] นอกจากนี้ เขายังค้นพบภาพสะท้อนเพอร์คินจี (Purkinje images) ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของวัตถุที่เกิดจากโครงสร้างในดวงตา รวมถึงริเริ่มการใช้คำว่า[[พลาสมา]]และ[[โพรโทพลาสซึม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:37, 8 กุมภาพันธ์ 2558

ยัน เอวังเกลิสตา ปุร์คินเย
ยัน เอวังเกลิสตา ปุร์คินเย ในปีค.ศ. 1856
เกิด17 ธันวาคม ค.ศ. 1787(1787-12-17)
ลิโบโควิซ ราชอาณาจักรโบฮีเมีย จักรวรรดิฮับส์บูร์ก
เสียชีวิตกรกฎาคม 28, 1869(1869-07-28) (81 ปี)
ปราก, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
สัญชาติเช็ก
อาชีพนักกายวิภาคศาสตร์, นักสรีรวิทยา
มีชื่อเสียงจากเซลล์เพอร์คินจี

ยัน เอวังเกลิสตา ปุร์คินเย (เช็ก: Jan Evangelista Purkyně, ภาษาเช็ก: [ˈjan ˈɛvaŋɡɛlɪsta ˈpurkɪɲɛ] ( ฟังเสียง); 17 ธันวาคม ค.ศ. 178728 กรกฎาคม ค.ศ. 1869) หรือ โยฮันน์ เอวานเจลิสต์ ปุร์คินเย เป็นนักกายวิภาคศาสตร์และนักสรีรวิทยาเช็ก

ประวัติ

ยัน เอวังเกลิสตา ปุร์คินเย เกิดเมื่อ ค.ศ. 1787 ที่เมืองเล็กๆ ในโบฮีเมีย (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐเช็ก) เขาเรียนจบจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยชาลส์ และต่อมาได้เป็นศาสตราจารย์ด้านสรีรวิทยา เขาเป็นผู้ค้นพบปรากฏการณ์เพอร์คินจี ซึ่งอธิบายว่าทำไมมนุษย์จึงมองเห็นสีแดงได้ลดลงเมื่อเทียบกับสีน้ำเงิน และตีพิมพ์ผลงาน 2 เล่ม คือ Observations and Experiments Investigating the Physiology of Senses และ New Subjective Reports about Vision ที่เป็นจุดเริ่มต้นของวิชาจิตวิทยาเชิงทดลอง

ปุร์คินเยเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงานค้นพบหลายอย่าง ในปี ค.ศ. 1823 เขาเขียนวิทยานิพนธ์ที่ว่าด้วยลักษณะ 9 แบบของลายนิ้วมือ สิบปีต่อมา เขาก็ค้นพบต่อมเหงื่อ ต่อมาในปี ค.ศ. 1837 เขาก็ค้นพบเซลล์เพอร์คินจี ซึ่งเป็นเซลล์ประสาทขนาดใหญ่ที่มีเดนไดรต์หลายแขนงในซีรีเบลลัม และค้นพบเพอร์คินจีไฟเบอร์ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการส่งกระแสไฟฟ้าไปยังหัวใจห้องล่าง นอกจากนี้ เขายังค้นพบภาพสะท้อนเพอร์คินจี (Purkinje images) ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของวัตถุที่เกิดจากโครงสร้างในดวงตา รวมถึงริเริ่มการใช้คำว่าพลาสมาและโพรโทพลาสซึม

ปุร์คินเยเสียชีวิตที่กรุงปราก เมื่อ ค.ศ. 1869 รวมอายุได้ 81 ปี[1]

อ้างอิง