ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มารยาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''มารยาท''', '''มรรยาท''', '''จริยา''' หรือ '''จรรยา''' หมายถึงแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ถูกวาดเค้าโครงไว้ให้เป็น[[พฤติกรรมทางสังคม]] ตามที่กำหนดโดย[[บรรทัดฐาน]][[ประเพณี]]ร่วมสมัยภายใน[[สังคม]] [[ชนชั้น]] หรือ[[กลุ่มทางสังคม]] การประพฤติตามมารยาทจะเป็นที่ยอมรับในสังคม ในทางตรงข้าม การไม่ปฏิบัติตามมารยาทหรือการปฏิบัติผิดแผกไปจากปรกติอาจถูกสังคมครหา มารยาทไม่ได้ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่ได้มาจากสิ่งแวดล้อม การศึกษา และการอบรมเป็นสำคัญ <ref>[http://www.nayoktech.ac.th/~amon/in11_2.html หน่วยการเรียนที่ 11 เรื่อง มารยาทชาวพุทธ]</ref>
'''มารยาท''', '''มรรยาท''', '''จริยา''' หรือ '''จรรยา''' หมายถึงแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ถูกวาดเค้าโครงไว้ให้เป็น[[พฤติกรรมทางสังคม]] ตามที่กำหนดโดย[[บรรทัดฐาน]][[ประเพณี]]ร่วมสมัยภายใน[[สังคม]] [[ชนชั้น]] หรือ[[กลุ่มทางสังคม]] การประพฤติตามมารยาทจะเป็นที่ยอมรับในสังคม ในทางตรงข้าม การไม่ปฏิบัติตามมารยาทหรือการปฏิบัติผิดแผกไปจากปรกติอาจถูกสังคมครหา มารยาทไม่ได้ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่ได้มาจากสิ่งแวดล้อม การศึกษา และการอบรมเป็นสำคัญ <ref>[http://www.nayoktech.ac.th/~amon/in11_2.html หน่วยการเรียนที่ 11 เรื่อง มารยาทชาวพุทธ]</ref>


มารยาทเป็นหลักการบ่งบอกว่าสิ่งใดควรกระทำหรือไม่กระทำ และจะกระทำอย่างไรในสถานการณ์ที่กำหนด มารยาทบางข้อก็มีเหตุผลรองรับตัวอย่างเช่น เมื่อพบผู้ใหญ่ก็ต้อง[[สวัสดี]] เพื่อเป็นการนบนอบ ห้ามนอนกินข้าว เพราะอาจทำให้สำลักอาหาร ห้ามเคาะปากหม้อด้วยจวัก เพราะจะทำให้หม้อข้าวแตก (สมัยโบราณใช้หม้อดินหุงข้าว) รวบช้อมส้อมเมื่อรับประทานเสร็จ เพื่อบ่งบอกให้บริกรทราบและให้เก็บจาน เป็นต้น ในขณะที่บางข้อก็หาคำอธิบายไม่ได้ เช่น ห้ามกางร่มในบ้าน ห้ามกินกล้วยแฝด ห้ามร้องเพลงในครัว เป็นอาทิ
มารยาทเป็นหลักการบ่งบอกว่าสิ่งใดควรกระทำหรือไม่กระทำ และจะกระทำอย่างไรในสถานการณ์ที่กำหนด มารยาทบางข้อก็มีเหตุผลรองรับตัวอย่างเช่น เมื่อพบผู้ใหญ่ก็ต้อง[[สวัสดี]] เพื่อเป็นการนบนอบ ห้ามนอนกินข้าว เพราะอาจทำให้สำลักอาหาร ห้ามเคาะปากหม้อด้วยจวัก เพราะจะทำให้หม้อข้าวแตก (สมัยโบราณใช้หม้อดินหุงข้าว) รวบช้อมส้อมเมื่อรับประทานเสร็จ เพื่อบ่งบอกให้บริกรทราบและให้เก็บจาน เป็นต้น ในขณะที่บางข้อก็หาคำอธิบายไม่ได้ เช่น ห้ามกางร่มในบ้าน ห้ามกินกล้วยแฝด ห้ามร้องเพลงในครัว เป็นอาทิ แต่หลักมารยาทส่วนใหญ่ตั้งขึ้นตามหลักศีลธรรมเพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข เช่น ไม่ให้ถามอายุ หรือ น้ำหนักของผู้หญิง ไม่ให้ถามเงินเดือน ห้ามรังเกียจหรือว่าผู้อื่นว่ามีกลิ่นตัวหรือกลิ่นปาก เป็นต้น ผู้ไม่ปฏิบัติตามหลักมารยาทจะได้รับการมองจากสังคมว่าไม่เป็นผู้ดี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:29, 23 มกราคม 2558

มารยาท, มรรยาท, จริยา หรือ จรรยา หมายถึงแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ถูกวาดเค้าโครงไว้ให้เป็นพฤติกรรมทางสังคม ตามที่กำหนดโดยบรรทัดฐานประเพณีร่วมสมัยภายในสังคม ชนชั้น หรือกลุ่มทางสังคม การประพฤติตามมารยาทจะเป็นที่ยอมรับในสังคม ในทางตรงข้าม การไม่ปฏิบัติตามมารยาทหรือการปฏิบัติผิดแผกไปจากปรกติอาจถูกสังคมครหา มารยาทไม่ได้ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่ได้มาจากสิ่งแวดล้อม การศึกษา และการอบรมเป็นสำคัญ [1]

มารยาทเป็นหลักการบ่งบอกว่าสิ่งใดควรกระทำหรือไม่กระทำ และจะกระทำอย่างไรในสถานการณ์ที่กำหนด มารยาทบางข้อก็มีเหตุผลรองรับตัวอย่างเช่น เมื่อพบผู้ใหญ่ก็ต้องสวัสดี เพื่อเป็นการนบนอบ ห้ามนอนกินข้าว เพราะอาจทำให้สำลักอาหาร ห้ามเคาะปากหม้อด้วยจวัก เพราะจะทำให้หม้อข้าวแตก (สมัยโบราณใช้หม้อดินหุงข้าว) รวบช้อมส้อมเมื่อรับประทานเสร็จ เพื่อบ่งบอกให้บริกรทราบและให้เก็บจาน เป็นต้น ในขณะที่บางข้อก็หาคำอธิบายไม่ได้ เช่น ห้ามกางร่มในบ้าน ห้ามกินกล้วยแฝด ห้ามร้องเพลงในครัว เป็นอาทิ แต่หลักมารยาทส่วนใหญ่ตั้งขึ้นตามหลักศีลธรรมเพื่อให้ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข เช่น ไม่ให้ถามอายุ หรือ น้ำหนักของผู้หญิง ไม่ให้ถามเงินเดือน ห้ามรังเกียจหรือว่าผู้อื่นว่ามีกลิ่นตัวหรือกลิ่นปาก เป็นต้น ผู้ไม่ปฏิบัติตามหลักมารยาทจะได้รับการมองจากสังคมว่าไม่เป็นผู้ดี

อ้างอิง