ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎหมาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino01 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
เขียนเหมือนตำรามาก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{โปร}}
{{โปร}}
'''กฎหมาย''' เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้<ref>Robertson, ''Crimes against humanity'', 90; see "[[analytical jurisprudence]]" for extensive debate on what law is; in ''[[The Concept of Law]]'' Hart argued law is a "system of rules" (Campbell, ''The Contribution of Legal Studies'', 184); Austin said law was "the command of a sovereign, backed by the threat of a sanction" (Bix, [http://plato.stanford.edu/entries/austin-john/#3 John Austin]); Dworkin describes law as an "interpretive concept" to achieve [[justice]] (Dworkin, ''Law's Empire'', 410); and Raz argues law is an "authority" to mediate people's interests (Raz, ''The Authority of Law'', 3–36).</ref> กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม [[กฎหมายสัญญา]]วางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาด[[ตราสารอนุพันธ์]] [[กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน]]นิยามสิทธิและ[[หนี้]]ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของ[[สังหาริมทรัพย์ส่วนตัว]]และ[[อสังหาริมทรัพย์]] [[กฎหมายทรัสต์]] (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย [[กฎหมายอาญา]]ให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ [[กฎหมายรัฐธรรมนูญ]]กำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครอง[[สิทธิมนุษยชน]] และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง [[กฎหมายปกครอง]]ใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่[[กฎหมายระหว่างประเทศ]]ควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก [[อริสโตเติล]] เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใดๆ"<ref>หมายเหตุ ต้นฉบับเขียนว่า "ที่กฎหมายปกครองก็สมควรกว่าพลเมืองคนใดๆ" [it is more proper that law should govern than any one of the citizens] (Aristotle, ''Politics'' 3.16)</ref>
กฎหมาย หมายถึงคำสั่งหรือข้อบังคับความประพฤติของมนุษย์ ซึ่งผู้มีอำนาจสูงสุด หรือรัฏฐาธิปัตย์เป็นผู้บัญญัติขึ้นผู้ใดฝ่าฝืน มีสภาพบังคับ
== ลักษณะของกฎหมาย ==
; กฎหมายต้องมี 5 ประการดังนี้
; 1. กฎหมายต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับ
หมายความว่า กฎหมายนั้นต้องอยู่ในรูปของคำสั่ง คำบัญชา อันเป็นการแสดงออกซึ่งความประสงค์ของผู้มีอำนาจในลักษณะเป็นการบังคับ เพื่อให้บุคคลอีกคนหนึ่งปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติ มิใช่เป็นการประกาศชวนเชิญเฉย ๆ เช่น ในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลได้ประกาศเชิญชวนคนไทยให้สวมหมวก เลิกกินหมากและให้นุ่งผ้าซิ่นแทนผ้าโจงกระเบน ประกาศนี้แจ้งให้ประชาชนทราบว่ารัฐบาลนิยมให้ประชาชนปฏิบัติอย่างไร มิได้บังคับจึงไม่เป็นกฎหมาย


ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจ[[ซีวิลลอว์]] ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบ[[คอมมอนลอว์]] ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ [[อานาตอล ฟร็องส์]] กล่าวใน ค.ศ. 1894 ว่า "ในความเสมอภาคอันสูงส่งของมัน กฎหมายห้ามมิให้ทั้งคนรวยและจนนอนใต้สะพาน ขอทานบนท้องถนนและขโมยแถวขนมปังอย่างเดียวกัน"<ref>ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสว่า "''La loi, dans un grand souci d'égalité, interdit aux riches comme aux pauvres de coucher sous les ponts, de mendier dans les rues et de voler du pain''" (France, ''The Red Lily'', [http://www.online-literature.com/anatole-france/red-lily/8/ Chapter VII]).</ref> ในประชาธิปไตยตามแบบ สถาบันกลางสำหรับการตีความและบัญญัติกฎหมาย คือ สามฝ่ายหลักของรัฐบาล ได้แก่ ฝ่ายตุลาการอันไม่ลำเอียง ฝ่ายนิติบัญญัติอันเป็นประชาธิปไตย และฝ่ายบริหารที่รับผิดชอบ ในการนำกฎหมายไปปฏิบัติและการบังคับใช้กฎหมาย ตลอดจนให้บริการแก่สาธารณชน ระบบราชการหรือรัฐการของรัฐบาล คือ ทหารและตำรวจนั้นสำคัญ แม้องค์กรของรัฐทั้งหมดเหล่านี้เป็นสิ่งซึ่งถูกสร้างขึ้นจากกฎหมายและถูกผูกพันด้วยกฎหมาย แต่วิชาชีพทางกฎหมายอิสระและประชาสังคมก็แจ้งและสนับสนุนความก้าวหน้าขององค์กรเหล่านี้
; 2. กฎหมายต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่มาจากรัฏฐาธิปัตย์
รัฎฐาธิปัตย์คือ ผู้ที่ประชาชนส่วนมากยอมรับนับถือว่าเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในแผ่นดิน โดยที่ไม่ต้องฟังอำนาจจากผู้ใดอีก ดังนี้รัฎฐาธิปัตย์จึงไม่ต้องพิจารณาถึงที่มาหรือลักษณะการได้อำนาจว่าจะได้อย่างไร แม้จะเป็นการปฏิวัติหรือรัฐประหารก็ตามถ้าหากคณะปฏิวัติหรือคณะรัฐประหารเป็นรัฎฐาธิปัตย์ที่สามารถออกคำสั่ง คำบัญชาในฐานะเป็นกฎหมายของประเทศได้


; 3. กฎหมายต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไป
หมายความว่า กฎหมายต้องเป็นเรื่องที่เมื่อประกาศใช้แล้วจะมีผลบังคับเป็นการทั่วไป ไม่ใช่กำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ของบุคคลหนึ่ง หรือให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดปฏิบัติตามเท่านั้น ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีอายุ เพศ หรือฐานะอย่างไรก็ตกอยู่ภายใต้ของการใช้บังคับกฎของกฎหมายอันเดียวกัน (โดยไม่เลือกปฏิบัติ) เพราะบุคคลทุกคนมีความเสมอภาคที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน แม้กฎหมายบางอย่างอาจจะมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประโยชน์แก่บุคคล หรือวางความรับผิดชอบให้แก่คนบางหมู่เหล่า แต่ก็ยังอยู่ในความหมายที่ว่าใช้บังคับทั่วไปอยู่เหมือนกัน เพราะคนทั่ว ๆ ไปที่เข้ามาเกี่ยวข้องในกฎหมายนั้นก็ยังต้องปฏิบัติตามอยู่เสมอ

; 4. กฎหมายบัญญัติขึ้นเพื่อให้บุคคลปฏิบัติตาม
แม้การปฏิบัติบางครั้งอาจจะเกิดจากความไม่เต็มใจที่จะปฏิบัติ แต่หากเป็นคำสั่ง คำบัญชาแล้ว ผู้รับคำสั่ง คำบัญชา ต้องปฏิบัติตาม หากขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็จะเกิดสภาพบังคับของกฎหมาย อันเป็น
ผลร้ายต่อผู้ฝ่าฝืนคำสั่งนั้น และเป็นที่พึงเข้าใจด้วยว่าผู้ที่อยู่ในฐานะที่จะรับคำสั่งและปฏิบัติตามกฎหมายได้นั้นต้องเป็นบุคคลตามกฎหมาย
อย่างไรก็ดีแม้กฎหมายจะไม่ใช้บังคับแก่สัตว์ แต่ก็มีความจำเป็นที่จะต้องควบคุมมิให้สัตว์ก่อความเสียหายหรือความเดือดร้อนรำคาญแก่มนุษย์ ดังนี้กฎหมายจึงกำหนดความรับผิดไว้กับบุคคลผู้เป็นเจ้าของที่ปล่อยปละละเลยไม่ควบคุมดูแลสัตว์เลี้ยงของตนตามสมควร จึงมิใช่เป็นการออกคำสั่ง คำบัญชาแก่สัตว์ แต่เป็นการควบคุมโดยผ่านทางผู้เป็นเจ้าของเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 433 บัญญัติว่า “ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นเพราะสัตว์ ท่านว่าเจ้าของสัตว์หรือบุคคลผู้รับเลี้ยงรับรักษาไว้แทนเจ้าของ จำต้องใช้คำเสียหายทดแทนให้แก่ฝ่ายที่ต้องเสียหาย”

; 5. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เพื่อให้กฎหมายเกิดความศักดิ์สิทธิ์ และประชาชนเคารพเชื่อฟังปฏิบัติตามกฎหมายจึงต้องมีสภาพบังคับ (SANCTION) สภาพบังคับของกฎหมายนั้นแบ่งเป็นสภาพบังคับในทางอาญาและทางแพ่ง
สภาพบังคับให้ทางอาญาโดยทั่วไปแล้ว คล้ายคลึงกัน คือ หากเป็นโทษสูงสุดจะใช้วิธีประหารชีวิต ซึ่งปางประเทศให้วิธีการนั่งเก้าอี้ไฟฟ้า แขวนคอ แต่ประเทศไทยในปัจจุบันให้นำไปฉีดยาให้ตายใช้วิธีประหารด้วยวิธีอื่นไม่ได้ นอกจากนั้นก็เป็นการจำคุก เป็นการเอาตัวนักโทษควบคุมในเรือนจำ ซึ่งต่างกับกักขังเป็นการเอาตัวไปกักไว้ที่อื่นที่มิใช่เรือนจำ เช่นที่อยู่ของผู้นั้นเอง หรือสถานที่อื่นที่ผู้ต้องกักขังมีสิทธิดีกว่าผู้ต้องจำคุก สำหรับกฎหมายไทยโทษกักขังจะใช้เฉพาะผู้ซึ่งกระทำผิดครั้งแรก และความผิดนั้นมีโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ศาลจึงจะลงโทษกักขังแทนจำคุกได้ ส่วนการปรับคือ ให้ชำระเงินตามที่กฎหมายกำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
การริบทรัพย์สิน คือ การริบเอาทรัพย์นั้นตกเป็นของแผ่นดิน เช่น ปืนที่เตรียมไว้ยิงคน หรือเงินที่ไปปล้นเขามา นอกจากการริบแล้วอาจสั่งทำลายทรัพย์สินนั้นเสียก็ได้
สภาพบังคับในทางแพ่งก็ได้แก่ การกำหนดให้การกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมายตกเป็นโมฆะ ตัวอย่างเช่น การซื้อขายที่ดินโดยมิได้ทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานตกเป็นโมฆะ การทำนิติกรรมซึ่งมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายก็ดี เป็นการพ้นวิสัยก็ดี เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนก็ดี ตกเป็นโมฆะ การให้ชดใช้ค่าเสียหายแก่อีกฝ่ายหนึ่งจากการไม่ชำระหนี้ การให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ถูกละเมิดเป็นต้น

== กฎหมายอาญา ==

; กฎหมายอาญา (Criminal Law)
เป็นกฎหมายที่กำหนดเรื่องความผิด และบทลงโทษไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ เพราะรัฐมีหน้าที่รักษาความสงบของบ้านเมือง กฎหมายอาญาจึงกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับราษฎรซึ่งกระทำความผิดขึ้น
'''กฎหมายอาญามีลักษณะที่สำคัญ 2 ส่วนคือ'''
# ส่วนที่บัญญัติถึงความผิด หมายความว่าได้บัญญัติถึงการกระทำ และการงดเว้นกระทำการอย่างใดเป็นความผิดอาญา
# ส่วนที่บัญญัติถึงโทษ หมายความว่าบทบัญญัตินั้น ๆ นอกจากจะได้ระบุว่าการกระทำหรืองดเว้นการกระทำอย่างใดเป็นความผิดแล้ว ต้องกำหนดโทษอาญาสำหรับความผิดนั้น ๆ ไว้ด้วย
'''ตัวอย่าง'''
* ประมวลกฎหมายอาญา''' '''มาตรา''' '''288''' '''บัญญัติว่า'''
“ผู้ใดฆ่าผู้อื่นต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต จำคุกตั้งแต่สิบห้าถึงยี่สิบปี”

* ประมวลกฎหมายอาญา''' '''มาตรา''' '''358''' '''บัญญัติว่า'''
“ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลายทำให้เสื่อมค่าหรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”
ฉะนั้น กฎหมายอาญาจึงต้องประกอบไปด้วยส่วนที่บัญญัติถึงความผิด และส่วนที่บัญญัติถึงโทษด้วย ส่วนโทษอาญาที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่
* ประหารชีวิต
* จำคุก
* กักขัง
* ปรับ
* ริบทรัพย์สิน

นอกจากที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีพระราชบัญญัติอื่นที่กำหนดความผิดเฉพาะเรื่อง และวางโทษไว้ด้วย เช่น พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องปืน และวัตถุระเบิด และพระราชบัญญัติการพนัน พระราชบัญญัติจราจรทางบก พระราชบัญญัติศุลกากร เป็นต้น พระราชบัญญัติพิเศษที่ระบุความผิดทางอาญา และกำหนดโทษไว้ด้วยเหล่านี้รวมเรียกว่ากฎหมายอาญาทั้งสิ้น


; หลักเกณฑ์สำคัญของประมวลกฎหมายอาญา มีดังนี้
# จะไม่มีความผิดโดยไม่มีกฎหมาย หมายความว่า กฎหมายอาญาจะใช้บังคับได้เฉพาะการกระทำซึ่งกฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะนี้ถือว่าเป็นความผิด ถ้ากฎหมายที่ใช้อยู่ในขณะกระทำไม่ถือว่าเป้นความผิดแล้ว จะถือว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดไม่ได้ และจะลงโทษกันไม่ได้ หลักเรื่องกฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลังนี้ กฎหมายไม่ให้ย้อนหลังก็เฉพาะที่จะเป้ฯผลร้ายแก่ผู้กระทำความผิดเท่านั้น เช่น การกระทำความผิดใดที่ล่วงเลยการลงโทษ หรือล่วงเลยอายุความฟ้องร้อง แม้จะได้มีกฎหมายใหม่บัญญัติกำหนดอายุความมากขึ้นกว่าเดิม ก็จะเอาตัวผู้กระทำมาฟ้องร้องลงโทษไม่ได้ แต่หากกฎหมายใหม่เป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิดมากกว่ากฎหมายเก่าเช่นนี้ กฎหมายก็ให้มีผลย้อนหลังได้ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 3 บัญญัติว่า “ถ้ากฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำความผิดแตกต่างกับกฎหมายที่ใช้ในภายหลังการกระทำความผิด ให้ใช้กฎหมายในส่วนที่เป็นคุณแก่ผู้กระทำความผิดไม่ว่าในทางใด...”
# จะไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย คือบุคคลจะต้องรับโทษต่อเมื่อมีกฎหมาย ที่ใช้อยู่ในขณะกระทำบัญญัติให้ต้องรับโทษนั้น ๆ เช่น การกระทำความผิดที่มีแต่โทษปรับ ศาลก็ลงโทษได้แต่โทษปรับ ศาลจะลงโทษจำคุกซึ่งไม่ใช้โทษที่กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ได้
# จะต้องตีความกฎหมายอาญาโดยเคร่งครัด กล่าวคือ กรณีที่ถ้อยคำของกฎหมายเป็นที่น่าสงสัย จะตีความโดยขยายความไปลงโทษหรือเพิ่มโทษผู้ต้องหาไม่ได้ แต่อาจตีความโดยขยายความให้เป็นผลดีแก่ผู้ต้องหาได้ ฉะนั้น หลักเกณฑ์ของกฎหมายอาญาจึงเกิดโดยตรงจากตัวบทเท่านั้น และการตีความบทบัญญัติทั้งหลายนั้นก็จะต้องตีความโดยเคร่งครัด กล่าวคือ การกระทำที่ถูกกล่าวหาเป็นความผิดนั้น และการตีความบทบัญญัติทั้งหลายนั้นก็จะต้องตีความโดยเคร่งครัด กล่าวคือ การกระทำที่ถูกกล่าวหาเป็นความผิดนั้น จะต้องอยู่ในความหมายตามปกติธรรมดาของถ้อยคำทั้งหลายที่ใช้ในกฎหมายนั้น จะขยายถ้อยคำเหล่านั้นออกไปไม่ได้
# การอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย ในกรณีที่ประมวลกฎหมายอาญาหรือพระราชบัญญัติอื่นที่บัญญัติความผิดและโทษไม่มีบัญญัติไว้ ซึ่งเรียกว่าช่องว่างแห่งกฎหมายนั้น ศาลจะอุดช่องว่างแห่งกฎหมายให้เป็นผลร้ายแก่ผู้ต้องหาหรือจำเลยไม่ได้ แต่ศาลอาจอุดช่องว่างแห่งกฎหมายเพื่อให้เป็นผลดีแก่ผู้ต้องหาหรือจำเลยได้



== อื่นๆ ==
* กฎหมายเมื่อประกาศมีผลบังคับใช้แล้วก็ใช้ได้ตลอดไป จนกว่าจะถูกแก้ไขเพิ่มเติมหรือถูกยกเลิก หากไม่มีการยกเลิกก็มีผลบังคับใช้ได้เสมอ
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
บรรทัด 62: บรรทัด 9:
{{ปรัชญาสังคม}}
{{ปรัชญาสังคม}}



[[หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางสังคม]]
[[หมวดหมู่:กฎหมาย|กฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:กฎหมาย|กฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:สังคมศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สังคมศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:20, 20 มกราคม 2558

กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้[1] กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญาวางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถโดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาดตราสารอนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สินนิยามสิทธิและหนี้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของสังหาริมทรัพย์ส่วนตัวและอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุนและความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิหรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความเสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎหมายอาญาให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญกำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติกฎหมาย การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้งผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครองใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของหน่วยงานภาครัฐ ขณะที่กฎหมายระหว่างประเทศควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราชในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อมหรือการปฏิบัติทางทหาร นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใดๆ"[2]

ระบบกฎหมายกล่าวถึงสิทธิและความรับผิดชอบในหลายวิถีทาง ความแตกต่างทั่วไปสามารถตัดสินได้ระหว่างเขตอำนาจซีวิลลอว์ ซึ่งประมวลกฎหมายของตน และระบบคอมมอนลอว์ ที่ซึ่งผู้พิพากษาบัญญัติกฎหมายนั้นไม่ถูกรวบรวม ในบางประเทศ ศาสนาเป็นที่มาของกฎหมาย กฎหมายเป็นบ่อเกิดอันมีคุณค่าของการสอบสวนอย่างคงแก่เรียน ไปยังประวัติศาสตร์กฎหมาย ปรัชญา การวิเคราะห์เศรษฐกิจหรือสังคมวิทยา กฎหมายยังยกประเด็นที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวข้องกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ผู้ประพันธ์ อานาตอล ฟร็องส์ กล่าวใน ค.ศ. 1894 ว่า "ในความเสมอภาคอันสูงส่งของมัน กฎหมายห้ามมิให้ทั้งคนรวยและจนนอนใต้สะพาน ขอทานบนท้องถนนและขโมยแถวขนมปังอย่างเดียวกัน"[3] ในประชาธิปไตยตามแบบ สถาบันกลางสำหรับการตีความและบัญญัติกฎหมาย คือ สามฝ่ายหลักของรัฐบาล ได้แก่ ฝ่ายตุลาการอันไม่ลำเอียง ฝ่ายนิติบัญญัติอันเป็นประชาธิปไตย และฝ่ายบริหารที่รับผิดชอบ ในการนำกฎหมายไปปฏิบัติและการบังคับใช้กฎหมาย ตลอดจนให้บริการแก่สาธารณชน ระบบราชการหรือรัฐการของรัฐบาล คือ ทหารและตำรวจนั้นสำคัญ แม้องค์กรของรัฐทั้งหมดเหล่านี้เป็นสิ่งซึ่งถูกสร้างขึ้นจากกฎหมายและถูกผูกพันด้วยกฎหมาย แต่วิชาชีพทางกฎหมายอิสระและประชาสังคมก็แจ้งและสนับสนุนความก้าวหน้าขององค์กรเหล่านี้

อ้างอิง

  1. Robertson, Crimes against humanity, 90; see "analytical jurisprudence" for extensive debate on what law is; in The Concept of Law Hart argued law is a "system of rules" (Campbell, The Contribution of Legal Studies, 184); Austin said law was "the command of a sovereign, backed by the threat of a sanction" (Bix, John Austin); Dworkin describes law as an "interpretive concept" to achieve justice (Dworkin, Law's Empire, 410); and Raz argues law is an "authority" to mediate people's interests (Raz, The Authority of Law, 3–36).
  2. หมายเหตุ ต้นฉบับเขียนว่า "ที่กฎหมายปกครองก็สมควรกว่าพลเมืองคนใดๆ" [it is more proper that law should govern than any one of the citizens] (Aristotle, Politics 3.16)
  3. ต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสว่า "La loi, dans un grand souci d'égalité, interdit aux riches comme aux pauvres de coucher sous les ponts, de mendier dans les rues et de voler du pain" (France, The Red Lily, Chapter VII).


แม่แบบ:Link GA