ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัมโบร์กีนี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
A-non Jitprasert (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้าย
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
'''ลัมโบร์กีนี''' ({{lang-it|Lamborghini}} {{IPA-it|lamborˈɡiːni|pron|De-Lamborghini-pronunciation.ogg}} บางครั้งเรียก ''แลมบอร์กินี'' ในภาษาอังกฤษ) ในนามบริษัท Automobili Lamborghini S.p.A. บริษัทผู้ผลิตรถยนต์สายเลือดอิตาลี ก่อตั้งโดย Ferruccio Lamborghini ในปี ค.ศ. 1963 เน้นเจาะตลาดตลาดไปที่การผลิตรถสปอร์ต มีคู่แข่งทางตลาดที่สำคัญ คือ[[เฟอร์รารี]] ซึ่งเป็นรถสัญชาติเดียวกัน ปัจจุบัน ลัมโบร์กีนี อยู่ในการครอบครองของ[[เอาดี้]] เอจี ในเครือ[[โฟล์คสวาเกนกรุ๊ป]]
'''ลัมโบร์กีนี''' ({{lang-it|Lamborghini}} {{IPA-it|lamborˈɡiːni|pron|De-Lamborghini-pronunciation.ogg}} บางครั้งเรียก ''แลมบอร์กินี'' ในภาษาอังกฤษ) ในนามบริษัท Automobili Lamborghini S.p.A. บริษัทผู้ผลิตรถยนต์สายเลือดอิตาลี ก่อตั้งโดย Ferruccio Lamborghini ในปี ค.ศ. 1963 เน้นเจาะตลาดตลาดไปที่การผลิตรถสปอร์ต มีคู่แข่งทางตลาดที่สำคัญ คือ[[เฟอร์รารี]] ซึ่งเป็นรถสัญชาติเดียวกัน ปัจจุบัน ลัมโบร์กีนี อยู่ในการครอบครองของ[[เอาดี้]] เอจี ในเครือ[[โฟล์คสวาเกนกรุ๊ป]]


ลัมโบร์กีนี นั้นเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งสำหรับ ความเร็ว และความหรู เช่นเดียวกับ [[เฟอร์รารี]] การออกแบบตราสัญลักษณ์ของลัมโบร์กินีนั้นได้รับไอเดียมาจากการแข่งขันสู้วัว[[กระทิง]] ในประเทศ[[สเปน]]
ลัมโบร์กีนี นั้นเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งสำหรับ ความเร็ว และความหรู เช่นเดียวกับ [[เฟอร์รารี]] การออกแบบตราสัญลักษณ์ของลัมโบร์กินีนั้นได้รับไอเดียมาจากการแข่งขันสู้วัว[[กระทิง]] ในประเทศ[[สเปน]]{{อ้างอิง}}

ประวัติ
นายเฟอร์รุชชิโอ ลัมโบร์กีนี เกิดในตระกูลชาวนา เขาได้มีความสนใจในด้านเครื่องยนต์เป็นพิเศษ ดัดแปลงเครื่องจักรกลที่ใช้ในไร่นา จนพ่อเห็นถึงความพยายามของลูกชายจึงส่งไปเรียนวิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมจักรกล หลังจากที่เรียนจบไม่นานก็เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เขารับใช้ชาติทำงานให้กับฐานทัพอากาศอิตาลี หลังสงครามสิ้นสุด เขาได้เดินทางกลับมายังบ้านเกิด และเริ่มต้นซ่อมแซมรถแทรกเตอร์ของอิตาลี ที่ใช้อะไหล่จากยวดยานของทหาร และนี่เองคือจุดเริ่มต้นในการตั้งโรงงานแทรกเตอร์ในชื่อว่า "Lamborghini Trattori S.p.A." ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ กลายเป็นบริษัทผลิตรถแทร็กเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี และยังเป็นเจ้าของกิจการเครื่องปรับอากาศอีกด้วย

ลัมโบร์กีนี เริ่มมีฐานะมั่งคั่งและยังคงไม่ลืมความฝันในวัยเด็กของเขา จึงเริ่มซื้อ [[อัลฟา โรเมโอ]], [[มาเซราติ]], [[จากัวร์]], [[แอสตัน มาร์ติน]], [[เชฟโรเลต]] และ [[เฟอร์รารี่]] รถยนต์เหล่านี้กำเนิดขึ้นในยุค 1950-1960 มีเครื่องยนต์ที่ให้แรงม้ามากกว่ารถทั่วไปและควบคุมได้ยาก เขามักจะควบ เฟอร์รารี่ 250จีที วนเล่นรอบโรงงานของเขา และรู้สึกว่าเจ้าม้าลำพองนี้ยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ทั้งหมดทั้งในเรื่องการควบคุมและส่วนของการให้บริการ จึงขับพุ่งตรงเพื่อไปพบกับ Enzo เฟอร์รารี่ ด้วยตัวเอง และเปิดใจในเรื่องที่เขารู้สึกย่ำแย่ที่มีต่อรถ เฟอร์รารี่ แต่ก็ได้ถูก [[เอ็นโซ เฟอร์รารี่]] ผู้ก่อตั้งบริษัทเฟอร์รารี่ ตอกกลับไปว่า ลัมโบร์กีนี เป็นเพียงแค่คนบ้านนอกที่ไม่มีความรู้อะไรเลยในเรื่องที่เกี่ยวกับรถสปอร์ต ต่างกับเขาที่มีอยู่เต็มในสายเลือด

ด้วยแรงฮึด ลัมโบร์กีนี จึงอยากสร้างรถของตัวเองให้ดีกว่ารถ เฟอร์รารี่ ภายใต้ชื่อ ออโตโมบิล ลัมโบร์กีนี ( Automobile Lamborghini ) ในช่วงปี 1962 ซึ่งโรงงานห่างจาก โรงงานเฟอร์รารี่ เพียงแค่ 15 กม. เท่านั้น ต่อจากนั้นค่ายรถยนต์เจ้าของสัญลักษณ์กระทิงเปลี่ยวก็ได้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ของวงการรถสปอร์ตในยุโรป ให้ได้ตื่นตะลึงกับรูปแบบของตัวรถลัมโบร์กีนี และเทคโนโลยีของเครื่องยนต์ การวางตำแหน่งเครื่อง และการบังคับควบคุมที่วิศวกรและนักขับทดสอบของบริษัทร่วมกันคิดค้นและพัตนา จนเสร็จสมบูรณ์เป็น ลัมโบร์กีนี 350 จีทีวี ( Lamborghini 350 GTV )

เขาได้ขายกิจการรถแทร็กเตอร์และรถไถนาของ ลัมโบร์กีนี ให้กับบริษัท "เซม" ( Same ) ผู้ผลิตเครื่องจักรกลทางการเกษตร จากนั้นไม่นานบริษัทได้ประสบกับปัญหาทางการเงินจนถึงขั้นล้มละลายลงในปี 1977 และถูกซื้อโดยพี่น้องตระกูล มิมรัน( Mimran ) แต่เมื่อมารับช่วงต่อ กิจการก็ยังคงติดขัด จึงถูกขายต่อให้กับบริษัท [[ไครสเลอร์]] แต่ก็ยังเกิดปัญหา จึงถูกขายต่ออีกทอดไปยังกลุ่มทุนจากอินโดนีเซีย และท้ายที่สุดบริษัท ออดี้ เอจี ก็ได้ทำให้ ลัมโบร์กีนี กลับมามั่นคงอีกครั้งจากการดูแลพัฒนาตัวผลิตภัณฑ์จากวิศวกรและทีมงานจากเยอรมัน ที่มีความมุ่งมั่นบวกกับเงินทุนมหาศาลทำให้หวนสู่วงการซูเปอร์คาร์อีกครั้งในนามของ [[ลัมโบร์กินี กัลลาร์โด|กัลลาร์โด]] และ [[ลัมโบร์กีนี มูร์เซียลาโก|มูร์เซียลาโก]] ซึ่งเป็นการผสานนวัตกรรมของ ลัมโบร์กีนี และ ออดี้ เข้าด้วยกัน ทำให้ขายได้มากกว่า 9,000 คันในเวลานั้น

เรื่องของวงการรถแข่งลัมโบร์กีนี มีวัตถุประสงค์ที่จะไม่เข้าร่วมรายการต่างๆ ตามปณิธานที่ว่า "I wish to build GT cars without defects - quite normal, conventional but perfect - not a technical bomb." “ผมปรารถนาที่จะสร้างรถ GT ที่ไร้ข้อบกพร่อง – ดูธรรมดา ได้มาตรฐานแต่สมบูรณ์แบบ ไม่ใช่มีแต่เทคโนโลยี” แต่หลังจากที่ ลัมโบร์กีนี ได้เสียชีวิตลงแต่เจตนารมย์นั้นก็ยังคงต่อเนื่อง จนมาถึงผู้บริหาร จอร์จ-เฮนรี่ โรสเสตติ ( Georges-Henri Rossetti ) ได้เข้าช่วยเหลือการพัฒนารถแข่งให้กับ บีเอ็มดับเบิ้ลยู มอเตอร์สปอร์ต ( BMW Motorsport ) แต่เป็นการสนับสนุนแบบไม่เป็นทางการ ทำให้หลังจากนั้นก็ทำให้เริ่มเป็นการเข้าสู่วงการการแข่งขันทีละน้อย รวมถึงการพัฒนา [[ลัมโบร์กินี กัลลาร์โด]] ในเวอร์ชัน GT3 และ [[ลัมโบร์กีนี มูร์เซียลาโก]] R-GT ที่ได้รับชัยชนะในรายการ "FIA GT Championship" ก็อาจมองได้ว่า ลัมโบร์กีนี กับวงการรถแข่ง ไม่มีอะไรที่หวือหวาเท่าไหร่นัก


ปัจจุบัน Lamborghini ได้ตั้งทีมแข่งรถที่ชื่อว่า Squadra Corse ในการแข่งขัน Super Trofeo, GT3 และเพื่อจัดโปรแกรมการทดสอบรถสำหรับลูกค้า
ปัจจุบัน Lamborghini ได้ตั้งทีมแข่งรถที่ชื่อว่า Squadra Corse ในการแข่งขัน Super Trofeo, GT3 และเพื่อจัดโปรแกรมการทดสอบรถสำหรับลูกค้า

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:48, 3 มกราคม 2558

ออโตโมบิล ลัมโบร์กีนี โฮลดิ้ง เอส.พี.เอ
Automobili Lamborghini Holding S.p.A.
ประเภทบริษัทย่อย ของบริษัทใหญ่
อุตสาหกรรมยานยนต์
ก่อตั้ง11 มีนาคม พ.ศ. 2491 Edit this on Wikidata
ผู้ก่อตั้งเฟอร์รุชชิโอ ลัมโบร์กีนี
สำนักงานใหญ่
Sant'Agata Bolognese Edit this on Wikidata
,
พื้นที่ให้บริการ
ทั่วโลก
บุคลากรหลัก
สเตฟาน วินเคิลมันน์,
ซีอีโอ
ฟิลิปโป เปรินิ,
หัวหน้าฝ่ายออกแบบ
ผลิตภัณฑ์รถยนต์
ผลผลิต
ลดลง1,227 คัน(2010)
รายได้US$97.5 million (2002)
รายได้สุทธิ
10,100,000 ยูโร (พ.ศ. 2557) Edit this on Wikidata
เจ้าของเอาดี้ เอจี
พนักงาน
1,779 (พ.ศ. 2563) Edit this on Wikidata
บริษัทแม่อาวดี้ Edit this on Wikidata
บริษัทในเครือ
[1]
เว็บไซต์lamborghini.com

ลัมโบร์กีนี (อิตาลี: Lamborghini ออกเสียง: [lamborˈɡiːni] ( ฟังเสียง) บางครั้งเรียก แลมบอร์กินี ในภาษาอังกฤษ) ในนามบริษัท Automobili Lamborghini S.p.A. บริษัทผู้ผลิตรถยนต์สายเลือดอิตาลี ก่อตั้งโดย Ferruccio Lamborghini ในปี ค.ศ. 1963 เน้นเจาะตลาดตลาดไปที่การผลิตรถสปอร์ต มีคู่แข่งทางตลาดที่สำคัญ คือเฟอร์รารี ซึ่งเป็นรถสัญชาติเดียวกัน ปัจจุบัน ลัมโบร์กีนี อยู่ในการครอบครองของเอาดี้ เอจี ในเครือโฟล์คสวาเกนกรุ๊ป

ลัมโบร์กีนี นั้นเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งสำหรับ ความเร็ว และความหรู เช่นเดียวกับ เฟอร์รารี การออกแบบตราสัญลักษณ์ของลัมโบร์กินีนั้นได้รับไอเดียมาจากการแข่งขันสู้วัวกระทิง ในประเทศสเปน[ต้องการอ้างอิง]

ปัจจุบัน Lamborghini ได้ตั้งทีมแข่งรถที่ชื่อว่า Squadra Corse ในการแข่งขัน Super Trofeo, GT3 และเพื่อจัดโปรแกรมการทดสอบรถสำหรับลูกค้า

รุ่นปัจจุบันของลัมโบร์กีนี

ลัมโบร์กินี ฮูราแคน (Lamborghini Huracan)
ผลิตตั้งแต่ปี 2014 ความเร็วสูงสุด มากกว่า 325 กม./ชม. อัตราเร่ง 0-100 กม./ชั่วโมง ทำได้ที่ 3.2 วินาที เครื่องยนต์ V10 ขนาด 5.2 ลิตร
  • คูเป้
ลัมโบร์กีนี อะเวนตาโดร์ (Lamborghini Aventador)
ผลิตตั้งแต่ปี 2011 ความเร็วสูงสุด 354 กม./ชม. อัตราเร่ง 0-100 กม./ชั่วโมง ทำได้ที่ 2.9 วินาที เครื่องยนต์ V12 ขนาด 6.5 ลิตร
  • คูเป้/โรสเตอร์/เจ

รุ่นที่ผ่านมาของลัมโบร์กินี

  1. Lamborghini 350 GTV (1963) - เครื่องยนต์ขนาด 3.5 ลิตร V12 270 แรงม้า
  2. Lamborghini Diablo (1990-1998) - เครื่องยนต์ขนาด 5.7 ลิตร V12 492 แรงม้า
  3. Lamborghini Diablo 6.0 (2001) - เครื่องยนต์ขนาด 6.0 ลิตร V12 575 แรงม้า
  4. Lamborghini Murcielago (2002) - เครื่องยนต์ขนาด 6.0 ลิตร V12 580 แรงม้า
  5. Lamborghini Gallardo (2003) - เครื่องยนต์ขนาด 5.0 ลิตร V10 500 แรงม้า
  6. Lamborghini Murcielago LP640 (2006) - เครื่อง 6.5 ลิตร V12 640 แรงม้า
  7. Lamborghini Gallardo Superleggera (2008) - เครื่องยนต์ขนาด 5.0 ลิตร V10 530 แรงม้า
  8. Lamborghini Reventon (2008) - เครื่องยนต์ขนาด 6.5 ลิตร V12 660 แรงม้า
  9. Lamborghini Gallardo LP560-4 (2009) - เครื่องยนต์ขนาด 5.2 ลิตร V10 560 แรงม้า
  10. Lamborghini Murcielago LP670-4 SuperVeloce (2010) - เครื่องยนต์ขนาด 6.5 ลิตร V12 670 แรงม้า
  11. Lamborghini Gallardo LP570-4 Spyder Performante (2011) - เครื่องยนต์ขนาด 5.2 ลิตร V10 570 แรงม้า
  12. Lamborghini Gallardo LP570-4 Superleggera (2011) - เครื่องยนต์ขนาด 5.2 ลิตร V10 570 แรงม้า
  13. Lamborghini Sesto Elemento (2011) - เครื่องยนต์ขนาด 5.2 ลิตร V10 570 แรงม้า
  14. Lamborghini Aventador LP700-4 (2012) - เครื่องยนต์ขนาด 6.5 ลิตร V12 700 แรงม้า
  15. Lamborghini Veneno (2013) - เครื่องยนต์ขนาด 6.5 ลิตร V12 750 แรงม้า
  16. Lamborghini Huracan LP610-4 (2014) - เครื่องยนต์ขนาด 5.2 ลิตร V10 610 แรงม้า
  17. Lamborghini Asterion LPI910-4 (2015) - เครื่องยนต์ขนาด 5.2 ลิตร V10 610 แรงม้า + มอเตอร์ไฟฟ้า 3 ตัว กำลัง 300 แรงม้า

อ้างอิง

  1. AUDI AG 2011a, p. 62.

แหล่งข้อมูลอื่น