ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดีวีนากอมเมเดีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| translator =
| translator =
| image = Michelino_DanteAndHisPoem.jpg
| image = Michelino_DanteAndHisPoem.jpg
| image_caption = ดานเตถือหนังสือ “ดีวีนากอมเมเดีย” หน้าประตูนรก ภูเขาโทษภูมิเจ็ดระดับ และเมืองฟลอเรนซ์ โดยมีโค้งสวรรค์อยู่ด้านบน (จิตรกรรมฝาผนังโดยโดเมนนิโค มิเคลิโน)
| image_caption = ดันเตถือหนังสือ “ดีวีนากอมเมเดีย” หน้าประตูนรก ภูเขาโทษภูมิเจ็ดระดับ และเมืองฟลอเรนซ์ โดยมีโค้งสวรรค์อยู่ด้านบน (จิตรกรรมฝาผนัง โดย โดเมนนิโค มิเคลิโน)
| author = [[ดันเต]]
| author = [[ดันเต]]
| illustrator =
| illustrator =
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
| followed_by =
| followed_by =
}}
}}
'''ดีวีนากอมเมเดีย''' ({{lang-it|Divina Commedia}}; {{lang-en|Divine Comedy}}) หรือ'''สุขนาฏกรรมของพระเจ้า''' เป็นวรรณกรรม[[อุปมานิทัศน์]]ที่เขียนโดย[[ดันเต อาลีกีเอรี]]ระหว่างปี ค.ศ. 1308 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1321 “ไตรภูมิดานเต” เป็นกวีนิพนธ์สำคัญของวรรณกรรมอิตาลีและเป็นหนึ่งในงานชิ้นสำคัญที่สุดชิ้นหนึ่งของวรรณกรรมของโลก<ref>{{cite book | last=Bloom | first=Harold | title=The Western Canon | date=1994}} See also Western canon for other "canons" that include the Divine Comedy.</ref> กวีนิพนธ์ที่เป็นเป็นจินตนิยายและ[[อุปมานิทัศน์ในยุคกลาง|อุปมานิทัศน์]]ของคริสเตียนสะท้อนให้เห็นถึงการวิวัฒนาการของ[[ปรัชญาของยุคกลาง]]ในเรื่องที่เกี่ยวกับ[[โรมันคาทอลิก]]ของตะวันตก นอกจากนั้นก็ยังเป็นหนังสือที่มีบทบาทต่อ[[สำเนียงทัสคัน]] (Tuscan dialect) ตามที่เขียนเป็น[[ภาษาอิตาลี]]มาตรฐาน<ref>See {{cite book | last=Lepschy | first=Laura | coauthors=Lepschy, Giulio | title=The Italian Language Today | date=1977}} or any other history of Italian language.</ref>
'''ดีวีนากอมเมเดีย''' ({{lang-it|Divina Commedia}}; {{lang-en|Divine Comedy}}) หรือ'''สุขนาฏกรรมของพระเจ้า''' เป็นวรรณกรรม[[อุปมานิทัศน์]]ที่เขียนโดย[[ดันเต อาลีกีเอรี]] ระหว่างปี ค.ศ. 1308 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1321 “ไตรภูมิดันเต” เป็นกวีนิพนธ์สำคัญของวรรณกรรมอิตาลีและเป็นหนึ่งในงานชิ้นสำคัญที่สุดชิ้นหนึ่งของวรรณกรรมของโลก<ref>{{cite book | last=Bloom | first=Harold | title=The Western Canon | date=1994}} See also Western canon for other "canons" that include the Divine Comedy.</ref> กวีนิพนธ์ที่เป็นเป็นจินตนิยายและ[[อุปมานิทัศน์ในยุคกลาง|อุปมานิทัศน์]]ของคริสเตียนสะท้อนให้เห็นถึงการวิวัฒนาการของ[[ปรัชญาของยุคกลาง]]ในเรื่องที่เกี่ยวกับ[[โรมันคาทอลิก]]ของตะวันตก นอกจากนั้นก็ยังเป็นหนังสือที่มีบทบาทต่อ[[สำเนียงทัสคัน]] (Tuscan dialect) ตามที่เขียนเป็น[[ภาษาอิตาลี]]มาตรฐาน<ref>See {{cite book | last=Lepschy | first=Laura | coauthors=Lepschy, Giulio | title=The Italian Language Today | date=1977}} or any other history of Italian language.</ref>


“ดีวีนากอมเมเดีย” แบ่งออกเป็นสามตอน “[[นรก (ดันเต)|นรก]]” (Inferno) “[[แดนชำระ]]” (Purgatorio) และ “[[สวรรค์ (ดันเต)|สวรรค์]]” (Paradiso) กวีนิพนธ์เขียนในรูปของบุคคลที่หนึ่งและเป็นเรืองที่บรรยายการเดินทางของดานเตไปยังภูมิสามภูมิของผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว ที่เริ่มการเดินทางตั้งแต่[[วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์]]ไปจนถึงวันพุธหลังจากวัน[[อีสเตอร์]]ของปี ค.ศ. 1300 โดยมีกวีโรมัน[[เวอร์จิล]]เป็นผู้นำใน “[[นรก (ดันเต)|นรก]]” และ “[[แดนชำระ]]” และ[[เบียทริเช พอร์ตินาริ]]เป็นผู้นำใน “[[สวรรค์ (ดันเต)|สวรรค์]]” เบียทริเชเป็นสตรีในอุดมคติที่ดานเตพบเมื่อยังเป็นเด็กและชื่นชมต่อมาแบบ “[[ความรักในราชสำนัก]]” (courtly love) ที่พบในงานสมัยแรกของดานเตใน “[[ชีวิตใหม่ (ดันเต)|ชีวิตใหม่]]” (La Vita Nuova) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1295
“ดีวีนากอมเมเดีย” แบ่งออกเป็นสามตอน “[[นรก (ดันเต)|นรก]]” (Inferno) “[[แดนชำระ]]” (Purgatorio) และ “[[สวรรค์ (ดันเต)|สวรรค์]]” (Paradiso) กวีนิพนธ์เขียนในรูปของบุคคลที่หนึ่งและเป็นเรื่องที่บรรยายการเดินทางของดานเตไปยังภูมิสามภูมิของผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว ที่เริ่มการเดินทางตั้งแต่[[วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์]]ไปจนถึงวันพุธหลังจากวัน[[อีสเตอร์]]ของปี ค.ศ. 1300 โดยมีกวีโรมัน [[เวอร์จิล]] เป็นผู้นำใน “[[นรก (ดันเต)|นรก]]” และ “[[แดนชำระ]]” และ[[เบียทริเช พอร์ตินาริ]] เป็นผู้นำใน “[[สวรรค์ (ดันเต)|สวรรค์]]” เบียทริเชเป็นสตรีในอุดมคติที่ดันเตพบเมื่อยังเป็นเด็กและชื่นชมต่อมาแบบ “[[ความรักในราชสำนัก]]” (courtly love) ที่พบในงานสมัยแรกของดันเตใน “[[ชีวิตใหม่ (ดันเต)|ชีวิตใหม่]]” (La Vita Nuova) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1295

ชื่อเดิมของหนังสือก็เป็นเพียงชื่อสั้นๆ ว่า “Commedia” แต่ต่อมา[[โจวันนี บอกกัชโช]]ก็มาเพิ่ม “Divina” ข้างหน้าชื่อ ฉบับแรกที่พิมพ์ที่มีคำว่า “Divine” อยู่หน้าชื่อเป็นฉบับที่นักมานุษยวิทยาฟื้นฟูศิลปวิยาของเวนิส[[โลโดวีโก ดอลเช]] (Lodovico Dolce) พิมพ์ในปี ค.ศ. 1555<ref>Ronnie H. Terpening, ''Lodovico Dolce, Renaissance Man of Letters'' (Toronto, Buffalo, London: University of Toronto Press, 1997), p. 166.</ref>


ชื่อเดิมของหนังสือก็เป็นเพียงชื่อสั้นๆ ว่า “Commedia” แต่ต่อมา [[โจวันนี บอกกัชโช]]ก็มาเพิ่ม “Divina” ข้างหน้าชื่อ ฉบับแรกที่พิมพ์ที่มีคำว่า “Divine” อยู่หน้าชื่อ เป็นฉบับที่นักมานุษยวิทยาฟื้นฟูศิลปวิทยาของเวนิส [[โลโดวีโก ดอลเช]] (Lodovico Dolce) พิมพ์ในปี ค.ศ. 1555<ref>Ronnie H. Terpening, ''Lodovico Dolce, Renaissance Man of Letters'' (Toronto, Buffalo, London: University of Toronto Press, 1997), p. 166.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:35, 30 ธันวาคม 2557

ดีวีนากอมเมเดีย
Divina Commedia  
ดันเตถือหนังสือ “ดีวีนากอมเมเดีย” หน้าประตูนรก ภูเขาโทษภูมิเจ็ดระดับ และเมืองฟลอเรนซ์ โดยมีโค้งสวรรค์อยู่ด้านบน (จิตรกรรมฝาผนัง โดย โดเมนนิโค มิเคลิโน)
ผู้ประพันธ์ดันเต
ชื่อเรื่องต้นฉบับCommedia
หัวเรื่องอุปมานิทัศน์ของสิ่งที่เกิดขึ้นหลังจากการตาย
วันที่พิมพ์ค.ศ. 1308 - ค.ศ. 1321

ดีวีนากอมเมเดีย (อิตาลี: Divina Commedia; อังกฤษ: Divine Comedy) หรือสุขนาฏกรรมของพระเจ้า เป็นวรรณกรรมอุปมานิทัศน์ที่เขียนโดยดันเต อาลีกีเอรี ระหว่างปี ค.ศ. 1308 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1321 “ไตรภูมิดันเต” เป็นกวีนิพนธ์สำคัญของวรรณกรรมอิตาลีและเป็นหนึ่งในงานชิ้นสำคัญที่สุดชิ้นหนึ่งของวรรณกรรมของโลก[1] กวีนิพนธ์ที่เป็นเป็นจินตนิยายและอุปมานิทัศน์ของคริสเตียนสะท้อนให้เห็นถึงการวิวัฒนาการของปรัชญาของยุคกลางในเรื่องที่เกี่ยวกับโรมันคาทอลิกของตะวันตก นอกจากนั้นก็ยังเป็นหนังสือที่มีบทบาทต่อสำเนียงทัสคัน (Tuscan dialect) ตามที่เขียนเป็นภาษาอิตาลีมาตรฐาน[2]

“ดีวีนากอมเมเดีย” แบ่งออกเป็นสามตอน “นรก” (Inferno) “แดนชำระ” (Purgatorio) และ “สวรรค์” (Paradiso) กวีนิพนธ์เขียนในรูปของบุคคลที่หนึ่งและเป็นเรื่องที่บรรยายการเดินทางของดานเตไปยังภูมิสามภูมิของผู้ที่เสียชีวิตไปแล้ว ที่เริ่มการเดินทางตั้งแต่วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ไปจนถึงวันพุธหลังจากวันอีสเตอร์ของปี ค.ศ. 1300 โดยมีกวีโรมัน เวอร์จิล เป็นผู้นำใน “นรก” และ “แดนชำระ” และเบียทริเช พอร์ตินาริ เป็นผู้นำใน “สวรรค์” เบียทริเชเป็นสตรีในอุดมคติที่ดันเตพบเมื่อยังเป็นเด็กและชื่นชมต่อมาแบบ “ความรักในราชสำนัก” (courtly love) ที่พบในงานสมัยแรกของดันเตใน “ชีวิตใหม่” (La Vita Nuova) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1295

ชื่อเดิมของหนังสือก็เป็นเพียงชื่อสั้นๆ ว่า “Commedia” แต่ต่อมา โจวันนี บอกกัชโชก็มาเพิ่ม “Divina” ข้างหน้าชื่อ ฉบับแรกที่พิมพ์ที่มีคำว่า “Divine” อยู่หน้าชื่อ เป็นฉบับที่นักมานุษยวิทยาฟื้นฟูศิลปวิทยาของเวนิส โลโดวีโก ดอลเช (Lodovico Dolce) พิมพ์ในปี ค.ศ. 1555[3]

อ้างอิง

  1. Bloom, Harold (1994). The Western Canon. See also Western canon for other "canons" that include the Divine Comedy.
  2. See Lepschy, Laura (1977). The Italian Language Today. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help) or any other history of Italian language.
  3. Ronnie H. Terpening, Lodovico Dolce, Renaissance Man of Letters (Toronto, Buffalo, London: University of Toronto Press, 1997), p. 166.

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link FA