ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทาทลิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''วลาดิมีร์ ทาทลิน''' ({{lang-ru|Влади́мир Евгра́фович Та́тлин}}) ({{lang-en|Vladimir Tatlin}})
'''วลาดิมีร์ ตัตลิน''' ({{lang-ru|Влади́мир Евгра́фович Та́тлин}}) ({{lang-en|Vladimir Tatlin}})
{{กล่องข้อมูล นักเขียน
{{กล่องข้อมูล นักเขียน
| name = วลาดิมีร์ ทาทลิน
| name = วลาดิมีร์ ตัตลิน
| image =Татлин.jpg
| image =Татлин.jpg
| imagesize = 250px
| imagesize = 250px
| caption = วลาดิมีร์ ทาทลิน 1885
| caption = วลาดิมีร์ ตัตลิน 1885
| pseudonym =
| pseudonym =
| birth_date = ปี 1885
| birth_date = ปี 1885
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
| occupation = [[จิตรกร]] [[สถาปนิก]]
| occupation = [[จิตรกร]] [[สถาปนิก]]
| nationality = รัสเซีย
| nationality = รัสเซีย
| father's occupation = นักวิศวกร
| father's occupation = วิศวกร
| mother's occupation = นักกวี
| mother's occupation = กวี
| period = ค.ศ.1908-1953
| period = ค.ศ.1908-1953
| genre =
| genre =
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
วลาดิมีร์ ทาทลิน
วลาดิมีร์ ตัตลิน
เป็นจิตรกรและสถาปนิกชาวรัสเซีย ซึ่งเป็นหนึ่งในศิลปินชั้นนำของรัสเซียรูปแบบ [[Avant-garde]] ปี1920 และต่อมาเขาก็เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงมาก ผลงานที่สำคัญของเขาคือ The Fishmonger , counter-reliefs, [[Tatlin's Tower]]
เป็นจิตรกรและสถาปนิกชาวรัสเซีย ซึ่งเป็นหนึ่งในศิลปินชั้นนำของรัสเซียรูปแบบ [[Avant-garde]] ปี1920 และต่อมาเขาก็เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงมาก ผลงานที่สำคัญของเขาคือ The Fishmonger , counter-reliefs, [[Tatlin's Tower]]
==ประวัติชีวิตในวัยเยาว์==
==ประวัติชีวิตในวัยเยาว์==
ทาทลิน เกิดในปี 1885 ที่ประเทศมอสโก แต่เมื่อโตขึ้นมาศึกษาที่เมืองใน Kharkov ประเทศ[[ยูเครน]] บิดามีอาชีพเป็นนักวิศวกรและมารดามีอาชีพเป็นนักกวี เขาใช้ชีวิตเป็นพ่อค้าทางเรือโดยการเดินทางไปยังประเทศต่างๆเช่น ตุรกี อียิปต์ เอเชียไมเนอร์ กรีซ อิตาลี และบัลแกเรีย<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Vladimir_Tatlin | Lynton, Norbert (2009). Tatlin's Tower: Monument to Revolution. New Haven: Yale University Press. p. 1. ISBN 0300111304.</ref>
วลาดิมีร์ ตัตลิน เกิดในปี 1885 ที่กรุงมอสโก ประเทศรัซเซีย รับการศึกษาที่ประเทศ[[ยูเครน]] บิดามีอาชีพเป็นวิศวกรและมารดามีอาชีพเป็นกวี เขาใช้ชีวิตเป็นพ่อค้าทางเรือโดยการเดินทางไปยังประเทศต่างๆเช่น ตุรกี อียิปต์ เอเชียไมเนอร์ กรีซ อิตาลี และบัลแกเรีย<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Vladimir_Tatlin | Lynton, Norbert (2009). Tatlin's Tower: Monument to Revolution. New Haven: Yale University Press. p. 1. ISBN 0300111304.</ref>
==ประวัติชีวิตในวัยทำงานและบั้นปลาย==
==ประวัติชีวิตในวัยทำงานและบั้นปลาย==
ในปี ค.ศ.1902 ได้เข้าเรียนที่โรงเรียน Moscow School of Painting, Sculpture, and Architecture ถึง ค.ศ. 1904 จากนั้นจึงเข้าเรียนที่ Penza School of Art ซึ่งอยู่ในการดูแลของ Aleksey Afanas'ev ศิลปินที่มีแนวทางการสร้างงานด้านสังคมและการเมืองร่วมสมัย ซึ่งเป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจให้กับแนวการสร้างงานของทาทลิน
ในปี ค.ศ.1902 ได้เข้าเรียนที่โรงเรียน Moscow School of Painting, Sculpture, and Architecture ถึง ค.ศ. 1904 จากนั้นจึงเข้าเรียนที่ Penza School of Art ซึ่งอยู่ในการดูแลของ Aleksey Afanas'ev ศิลปินที่มีแนวทางการสร้างงานด้านสังคมและการเมืองร่วมสมัย ซึ่งเป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจให้กับแนวการสร้างงานของตัตลิน
หลังจบการศึกษาที่ Penza School of Art ทาทลินได้กลับไปศึกษาที่ Moscow School of Painting, Sculpture, and Architecture และได้รู้จักคุ้นเคยกับศิลปิน [[Avant-garde]] หลายคน เช่น the Vesnin brothers, the Burluk brothers, Natalia Goncharova, Mikhail Larionov <ref>โลกศิลปะศตวรรษที่ 20. จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2552</ref>
หลังจบการศึกษาที่ Penza School of Art ตัตลินได้กลับไปศึกษาที่ Moscow School of Painting, Sculpture, and Architecture และได้รู้จักคุ้นเคยกับศิลปิน [[Avant-garde]] หลายคน เช่น the Vesnin brothers, the Burluk brothers, Natalia Goncharova, Mikhail Larionov <ref>โลกศิลปะศตวรรษที่ 20. จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2552</ref>


ค.ศ. 1913 ทาทลินได้เดินทางไป[[กรุงปารีส]] และเข้าได้เยี่ยมชมสตูดิโอของปีกัสโซ ([[Pablo Picasso]])<ref name="name"/> ซึ่งขณะนั้นงานที่จัดว่าเด่นสะดุดตามากที่สุดคือ กีต้าร์ (Guitar ค.ศ. 1912-1913) ซึ่งสร้างขึ้นจากแผ่นเหล็กและเส้นลวด ลักษณะแบบประติมากรรมนูนสูง แขวนอยู่บนผนังห้อง ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างประติมากรรมโดยการประกอบชิ้นส่วนต่างๆขึ้นมา (Constructied Sculpture) และมีความสำคัญต่อแนวคิดต่อต้านธรรมชาติ (Anti Naturalism)
ค.ศ. 1913 ตัตลินได้เดินทางไป[[กรุงปารีส]] และได้เข้าเยี่ยมชมสตูดิโอของ[[ปีกัสโซ]] ([[Pablo Picasso]])<ref name="name"/> ซึ่งขณะนั้นงานที่จัดว่าเด่นสะดุดตามากที่สุดคือ กีต้าร์ (Guitar ค.ศ. 1912-1913) ซึ่งสร้างขึ้นจากแผ่นเหล็กและเส้นลวด ลักษณะแบบประติมากรรมนูนสูง แขวนอยู่บนผนังห้อง ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างประติมากรรมโดยการประกอบชิ้นส่วนต่างๆขึ้นมา (Constructied Sculpture) และมีความสำคัญต่อแนวคิดต่อต้านธรรมชาติ (Anti Naturalism)
ทาทลินได้รับอิทธิพลแนวความคิดแบบ [[cubism]] มาผสมผสานประยุกต์ ในการเลือกใช้วัสดุสร้างงาน และได้สร้าง The bottle ออกมาในปี 1913 ภาพวาดของเขาได้รับแรงบันดาลใจจาก โมเนต์
ตัตลินได้รับอิทธิพลแนวความคิดแบบ [[cubism]] มาผสมผสานประยุกต์ ในการเลือกใช้วัสดุสร้างงาน และได้สร้าง The bottle ออกมาในปี 1913 ภาพวาดของเขาได้รับแรงบันดาลใจจาก [[โมเนต์]]
และ โกแกงด้วย คือภาพ The Nude (1913) แล้วพัฒนาผลงานไปในลักษณะ[[สถาปัตยกรรม]]มากกว่าจิตรกรรมหรือประติมากรรม โดยให้ความสำคัญกับการเลือกชนิดวัสดุและเป็นวัสดุจากอุตสาหกรรมตามอุดมการณ์ของ [[Constructivism]] <ref> http://max.mmlc.northwestern.edu/mdenner/Drama/visualarts/Constructivism/24thirdinternational.html |Constructivism. Retrieved 2014-11-29. </ref>
และ [[โกแกง]]ด้วย คือภาพ The Nude (1913) แล้วพัฒนาผลงานไปในลักษณะ[[สถาปัตยกรรม]]มากกว่า[[จิตรกรรม]]หรือ[[ประติมากรรม]] โดยให้ความสำคัญกับการเลือกชนิดวัสดุและเป็นวัสดุจากอุตสาหกรรมตามอุดมการณ์ของ [[Constructivism]] <ref> http://max.mmlc.northwestern.edu/mdenner/Drama/visualarts/Constructivism/24thirdinternational.html |Constructivism. Retrieved 2014-11-29. </ref>


ในปี ค.ศ. 1915 เขาได้นำเอาแผ่นโลหะมาสร้างประติมากรรมแขวนนามธรรมชื่อ Counter Relifes ซึ่งได้รับอิทธิพลจากคิวบิสก์ยุคสังเคราะห์ ทาทลินแสวงหาความจริงในแง่ของวัตถุ เขาได้กลายเป็นผู้นำศิลปินกลุ่มคอนสตรัคติวิสม์ในรัสเซีย และเป็นคณะกรรมการปฏิรูปสถาบันศิลปะของสหภาพโซเวียต ทาทลินเริ่มรู้สึกว่างานประเภทนี้ยังไม่เพียงพอสำหรับสังคมใหม่ เขาและเพื่อนศิลปินเห็นว่าจำต้องนำเอาการคิดค้นและประสบการณ์ของศิลปินมาใช้สร้างวรรค์ชี้นำสังคม ศิลปินสามารถสอนให้ผู้สนใจได้รู้จักธรรมชาติของวัตถุและวิธีการนำมันมาใช้ พวกเขาเองสามารถเข้าไปยังโรงงานและพัฒนาแนวทางการออกแบบใหม่ เช่น เตาผิงที่มีประสิทธิภาพราคาถูก เสื้อผ้าสำหรับใส่ในฤดูหนาว เข้ากับบรรยากาศก่อน[[การปฏิวัติรัสเซีย]]
ในปี ค.ศ. 1915 เขาได้นำเอาแผ่นโลหะมาสร้างประติมากรรมแขวนนามธรรมชื่อ Counter Relifes ซึ่งได้รับอิทธิพลจากคิวบิสก์ยุคสังเคราะห์ ตัตลินแสวงหาความจริงในแง่ของวัตถุ เขาได้กลายเป็นผู้นำศิลปินกลุ่มคอนสตรัคติวิสม์ในรัสเซีย และเป็นคณะกรรมการปฏิรูปสถาบันศิลปะของสหภาพโซเวียต ตัตลินเริ่มรู้สึกว่างานประเภทนี้ยังไม่เพียงพอสำหรับสังคมใหม่ เขาและเพื่อนศิลปินเห็นว่าจำต้องนำเอาการคิดค้นและประสบการณ์ของศิลปินมาใช้สร้างวรรค์ชี้นำสังคม ศิลปินสามารถสอนให้ผู้สนใจได้รู้จักธรรมชาติของวัตถุและวิธีการนำมันมาใช้ พวกเขาเองสามารถเข้าไปยังโรงงานและพัฒนาแนวทางการออกแบบใหม่ เช่น เตาผิงที่มีประสิทธิภาพราคาถูก เสื้อผ้าสำหรับใส่ในฤดูหนาว เข้ากับบรรยากาศก่อน[[การปฏิวัติรัสเซีย]]
ทาทลินได้วางแผนสร้าง อนุสาวรีย์นานาชาติที่สาม (The movement to the Third International ) หรือ [[Tatlin’s tower]] ในปีค.ศ. 1919-1920<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Tatlin%27s_Tower |Honour, H. and Fleming, J. (2009) A World History of Art. 7th edn. London: Laurence King Publishing, p. 819. ISBN 9781856695848</ref> หอสูงขนาดสองเท่าของ[[ตึกเอ็มไพร์สเตท]]แห่งนครนิวยอร์ก ด้วยเหล็ก แก้ว โลหะและกระจกเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของจักรวาล อนุสาวรีย์นี้เปรียบเสมือนโครงสร้างกระดูกเหล็ก สร้างคล้ายศูนย์ควบคุมยานอวกาศ การวางตำแหน่งของห้องเล็กๆในโครงส้รางนี้จะถูกสลับที่กันปีละครั้ง เพื่อจำลองการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ห้องเลขาธิการจะถูกสลับตำแหน่งทุก 28 วัน การออกแบบจึงซับซ้อนเพื่อรองรับวัตถุประสงค์นี้ ซึ่งความฝันแบบยูเปียของทาทลินไม่สอดคล้องกับนโยบายของ[[เลนิน]] ผู้นำรัสเซีย ที่มุ่งไปที่การขยายตัวทางการค้าและผลผลิต ดังนั้นในไม่ช้าศิลปะรัสเซียจึงสูญเสียอิสระที่จะค้นหาความหมายใหม่ แม้เป็นเพียงแบบจำลอง แต่อนุสาวรีย์นานาชาติที่สามถือเป็นงานก่อสร้างที่ทำงานได้สมบูรณ์และเป็นสัญลักษณ์ของสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในอุดมคติยุคใหม่
ตัตลินได้วางแผนสร้าง อนุสาวรีย์นานาชาติที่สาม (The movement to the Third International ) หรือ [[Tatlin’s tower]] ในปีค.ศ. 1919-1920<ref>http://en.wikipedia.org/wiki/Tatlin%27s_Tower |Honour, H. and Fleming, J. (2009) A World History of Art. 7th edn. London: Laurence King Publishing, p. 819. ISBN 9781856695848</ref> หอสูงขนาดสองเท่าของ[[ตึกเอ็มไพร์สเตท]]แห่งนครนิวยอร์ก ด้วยเหล็ก แก้ว โลหะและกระจกเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของจักรวาล อนุสาวรีย์นี้เปรียบเสมือนโครงสร้างกระดูกเหล็ก สร้างคล้ายศูนย์ควบคุมยานอวกาศ การวางตำแหน่งของห้องเล็กๆในโครงส้รางนี้จะถูกสลับที่กันปีละครั้ง เพื่อจำลองการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ห้องเลขาธิการจะถูกสลับตำแหน่งทุก 28 วัน การออกแบบจึงซับซ้อนเพื่อรองรับวัตถุประสงค์นี้ ซึ่งความฝันแบบยูเปียของตัตลินไม่สอดคล้องกับนโยบายของ[[เลนิน]] ผู้นำรัสเซีย ที่มุ่งไปที่การขยายตัวทางการค้าและผลผลิต ดังนั้นในไม่ช้าศิลปะรัสเซียจึงสูญเสียอิสระที่จะค้นหาความหมายใหม่ แม้เป็นเพียงแบบจำลอง แต่อนุสาวรีย์นานาชาติที่สามถือเป็นงานก่อสร้างที่ทำงานได้สมบูรณ์และเป็นสัญลักษณ์ของสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในอุดมคติยุคใหม่


หลังจากโครงการอนุสาวรีย์นานาชาติที่สาม ทาทลิน ให้ความสนใจกับการเรียนการสอนปี ค.ศ. 1920 เขาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่ Svomas ในมอสโกและเป็นรักษาการหัวหน้าสตูดิโอของปริมาณ, วัสดุ, และการก่อสร้างที่ Svomas ในเปโตรกราด ปีค.ศ. 1923-1925 ได้เข้าทำงานในกรมวัฒนธรรมทางวัตถุ ในเปโตก ใน ปี 1923 ได้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมศิลปะในเปโตรกราด เป็นห้องปฏิบัติการสำหรับการศึกษาทดลองของศิลปะ ซึ่งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมศิลปะที่ เขาออกแบบฉากและดำเนินการการแสดง Velimir Khlebnikov บทกวีของ Zangezi ในปี 1923 อันเป็นความสำเร็จของ [[Constructivism]] และเปิดโลก [[Avant-garde]] ให้กว้างขึ้น
หลังจากโครงการอนุสาวรีย์นานาชาติที่สาม ตัตลินให้ความสนใจกับการเรียนการสอนปี ค.ศ. 1920 เขาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่ Svomas ในมอสโกและเป็นรักษาการหัวหน้าสตูดิโอของปริมาณ, วัสดุ, และการก่อสร้างที่ Svomas ใน[[เปโตรกราด]] ปีค.ศ. 1923-1925 ได้เข้าทำงานในกรมวัฒนธรรมทางวัตถุ ใน[[เปโตกราด]] ใน ปี 1923 ได้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมศิลปะใน[[เปโตรกราด]] เป็นห้องปฏิบัติการสำหรับการศึกษาทดลองของศิลปะ ซึ่งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมศิลปะที่ เขาออกแบบฉากและดำเนินการการแสดง Velimir Khlebnikov บทกวีของ Zangezi ในปี 1923 อันเป็นความสำเร็จของ [[Constructivism]] และเปิดโลก [[Avant-garde]] ให้กว้างขึ้น


ผลงานที่กล่าวได้ว่าเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของทาทลินคือ "Le tatlin" <ref> http://www.wsws.org/en/articles/2012/06/tat1-j19.html | Tatlin’s “new art for a new world”</ref>เครื่องร่อนที่ขับเคลื่อนโดยใช้กำลังคน จากศึกษาการบินและโครงสร้างปีกของนก โดยเชื่อว่ามนุษย์จะสามารถบินเลียนแบบนกได้ สร้างจากกระดูกปลาวาฬและผ้าไหม โดยได้รับความร่วมมือจากศัลยแพทย์และนักบิน
ผลงานที่กล่าวได้ว่าเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของตัตลินคือ "Le tatlin" <ref> http://www.wsws.org/en/articles/2012/06/tat1-j19.html | Tatlin’s “new art for a new world”</ref>[[เครื่องร่อน]]ที่ขับเคลื่อนโดยใช้กำลังคน จากศึกษาการบินและโครงสร้างปีกของ[[นก]] โดยเชื่อว่ามนุษย์จะสามารถบินเลียนแบบนกได้ สร้างจากกระดูก[[ปลาวาฬ]]และ[[ผ้าไหม]] โดยได้รับความร่วมมือจากศัลยแพทย์และนักบิน
ทาทลินเสียชีวิตอย่างฉับพลันจากอาการอาหารเป็นพิษ ใน วันที่ 31 พฤษภาคม ปีค.ศ. 1953 โดยร่างของเขาถูกฝังอยู่ที่ Novodevichy Cemetery กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย
ตัตลินเสียชีวิตอย่างฉับพลันจากอาการอาหารเป็นพิษ ใน วันที่ 31 พฤษภาคม ปีค.ศ. 1953 โดยร่างของเขาถูกฝังอยู่ที่ Novodevichy Cemetery กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย
==แนวความคิดของทาทลิน==
==แนวความคิดของทาทลิน==
ส่วนมากผลงานของ ทาทลิน นั้นจะแสดงออกในรูปแบบที่ไม่หวนไปสู่แบบดั้งเดิม แต่ผลิตเพื่อการใช้งานจริงขึ้นซึ่งสอดคล้องกับศิลปะเพื่อ[[การปฏิวัติรัสเซีย]]ในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งศิลปินยุคถัดจากเขาประสบความสำเร็จโดยการใช้ศิลปะเพื่อเป็นสื่อในการผลิตโฆษณาและสร้างกระแสนิยมของรัฐ ผลงานของทาทลิน นับเป็นเวลาสำคัญที่จะเปลี่ยนแปลงรูปแบบของศิลปะรัสเซีย จากการทดลองสมัยใหม่กลายเป็นการออกแบบเชิงใช้งานได้จริง
ส่วนมากผลงานของ ตัตลิน นั้นจะแสดงออกในรูปแบบที่ไม่หวนไปสู่แบบดั้งเดิม แต่ผลิตเพื่อการใช้งานจริงขึ้นซึ่งสอดคล้องกับศิลปะเพื่อ[[การปฏิวัติรัสเซีย]]ในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งศิลปินยุคถัดจากเขาประสบความสำเร็จโดยการใช้ศิลปะเพื่อเป็นสื่อในการผลิตโฆษณาและสร้างกระแสนิยมของรัฐ ผลงานของตัตลิน นับเป็นเวลาสำคัญที่จะเปลี่ยนแปลงรูปแบบของศิลปะรัสเซีย จากการทดลองสมัยใหม่กลายเป็นการออกแบบเชิงใช้งานได้จริง


ทาทลิน เชื่อว่า วัสดุจะใช้งานเต็มประสิทธิภาพได้ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้งานของศิลปิน ในส่วนนี้มีหลักจริยธรรมที่ว่า “Truth to materials” คือแนวความคิดที่เป็นการเชื่อมผ่านประวัติศาสตร์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ แต่วิธีของทาทลินนั้นยังคงความชัดเจนที่จะแสดงผลงานออกมาให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนจากการนำวัสดุมาใช้สำหรับแปลภาษาหรือบอกลักษณะ มาเน้นที่การใช้งานและทำให้กลายเป็นเครื่องจักรแทน
ตัตลิน เชื่อว่า วัสดุจะใช้งานเต็มประสิทธิภาพได้ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้งานของศิลปิน ในส่วนนี้มีหลักจริยธรรมที่ว่า “Truth to materials” คือแนวความคิดที่เป็นการเชื่อมผ่านประวัติศาสตร์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ แต่วิธีของตัตลินนั้นยังคงความชัดเจนที่จะแสดงผลงานออกมาให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนจากการนำวัสดุมาใช้สำหรับแปลภาษาหรือบอกลักษณะ มาเน้นที่การใช้งานและทำให้กลายเป็นเครื่องจักรแทน
การเป็นนักออกแบบวาดภาพของทาทลินทำให้เขาเห็นถึงความแตกต่างในตัววัสดุแต่ละชนิด ซึ่งเมื่อเขาได้เดินทางไปยังปารีสในปี 1913 แเละได้เห็นผลงานรูปแบบ [[Cubism]] ของ [[ปีกัสโซ]]ทำให้เขาตระหนักถึงการทำงานตลอดชีวิตของเขาและผลงานส่วนมากของเขานั้นเป็นการแสดงออกมาในลักษณะเส้นโค้งดังจะเห็นได้จาก “Counter-reliefs” (1914) และทำให้เกิดผลงานที่สำคัญอย่าง [[Tatlin's Tower]]
การเป็นนักออกแบบวาดภาพของตัตลินทำให้เขาเห็นถึงความแตกต่างในตัววัสดุแต่ละชนิด ซึ่งเมื่อเขาได้เดินทางไปยังปารีสในปี 1913 แเละได้เห็นผลงานรูปแบบ [[Cubism]] ของ [[ปีกัสโซ]]ทำให้เขาตระหนักถึงการทำงานตลอดชีวิตของเขาและผลงานส่วนมากของเขานั้นเป็นการแสดงออกมาในลักษณะเส้นโค้งดังจะเห็นได้จาก “Counter-reliefs” (1914) และทำให้เกิดผลงานที่สำคัญอย่าง [[Tatlin's Tower]]


อย่างไรก็ตามแนวคิดของทาทลินถือเป็นแนวคิดทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยศิลปินเอง (Constructivists) ส่งอิทธิพลต่อศิลปินในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษ 20 โดยการใช้ศิลปะในการปฏิวัติสังคม และศิลปินกลุ่มสำคัญอย่างศิลปินแนวเรียกร้องสิทธิสตรีผ่านรูปแบบศิลปะ ซึ่งแนวความคิดแบบ [[Constructivism]] เป็นแรงบันดาลใจโดยตรงแสดงให้เห็นถึงความ “สูง” และ “ต่ำ” ของศิลปะและวัฒนธรรม<ref name="name">http://www.theartstory.org/artist-tatlin-vladimir.htm</ref>
อย่างไรก็ตามแนวคิดของตัตลินถือเป็นแนวคิดทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยศิลปินเอง (Constructivists) ส่งอิทธิพลต่อศิลปินในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษ 20 โดยการใช้ศิลปะในการปฏิวัติสังคม และศิลปินกลุ่มสำคัญอย่างศิลปินแนวเรียกร้องสิทธิสตรีผ่านรูปแบบศิลปะ ซึ่งแนวความคิดแบบ [[Constructivism]] เป็นแรงบันดาลใจโดยตรงแสดงให้เห็นถึงความ “สูง” และ “ต่ำ” ของศิลปะและวัฒนธรรม<ref name="name">http://www.theartstory.org/artist-tatlin-vladimir.htm</ref>


==วลีประจำตัวของทาทลิน==
==วลีประจำตัวของตัตลิน==
“ไม่มีเก่า ไม่มีใหม่ แต่มีความจำเป็น”
“ไม่มีเก่า ไม่มีใหม่ แต่มีความจำเป็น”


บรรทัด 67: บรรทัด 67:
เป็นการเนเส้นโค้งที่แสดงออกบนผืนผ้าใบ
เป็นการเนเส้นโค้งที่แสดงออกบนผืนผ้าใบ
หนึ่งในผลงาน the Knave of Diamonds Exhibition เป็นการอธิบายอย่างเข้มข้นระหว่าง David Burlyuk คนที่สนับสนุนศิลปะตะวันตกและ Natalia Goncharova คนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซีย การอภิปรายนี้นำไปสู่ "The Donkey's Tail”
หนึ่งในผลงาน the Knave of Diamonds Exhibition เป็นการอธิบายอย่างเข้มข้นระหว่าง David Burlyuk คนที่สนับสนุนศิลปะตะวันตกและ Natalia Goncharova คนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซีย การอภิปรายนี้นำไปสู่ "The Donkey's Tail”
กลุ่มคู่แข่งเน้นรัสเซียและลักษณะพื้นบ้านซึ่งเขียนโดย Tatlin
กลุ่มคู่แข่งเน้นรัสเซียและลักษณะพื้นบ้านซึ่งเขียนโดยตัตลิน
* 1911-1912 – " The Sailor (Self Portrait) "
* 1911-1912 – " The Sailor (Self Portrait) "
* 1912 – " Portrait of the artist " <ref> http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255551 | Portrait of the artist</ref>
* 1912 – " Portrait of the artist " <ref> http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255551 | Portrait of the artist</ref>
*1919-1920 – "Tatlin's Tower" <ref>http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255548 | Tatlin's Tower </ref>
*1919-1920 – "Tatlin's Tower" <ref>http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255548 | Tatlin's Tower </ref>
หรือโครงการ the Monument to the Third International เป็นการสร้างอนุสาวรีย์ที่มีขนาดใหญ่มาก Tatlin ต้องการสร้างงานสถาปัตยกรรมที่มีความทันสมัย
หรือโครงการ the Monument to the Third International เป็นการสร้างอนุสาวรีย์ที่มีขนาดใหญ่มาก ตัตลินต้องการสร้างงานสถาปัตยกรรมที่มีความทันสมัย
* 1930-1932 – " Le tatlin " <ref> http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255545 | Le tatlin </ref>
* 1930-1932 – " Le tatlin " <ref> http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255545 | Le tatlin </ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:18, 29 พฤศจิกายน 2557

วลาดิมีร์ ตัตลิน (รัสเซีย: Влади́мир Евгра́фович Та́тлин) (อังกฤษ: Vladimir Tatlin)

วลาดิมีร์ ตัตลิน
วลาดิมีร์ ตัตลิน 1885
วลาดิมีร์ ตัตลิน 1885
เกิดปี 1885
มอสโก สาธารณรัฐรัสเซีย
เสียชีวิต31 พฤษภาคม 1953
( 67 ปี)
มอสโก สาธารณรัฐรัสเซีย
อาชีพจิตรกร สถาปนิก
สัญชาติรัสเซีย
ช่วงเวลาค.ศ.1908-1953

วลาดิมีร์ ตัตลิน เป็นจิตรกรและสถาปนิกชาวรัสเซีย ซึ่งเป็นหนึ่งในศิลปินชั้นนำของรัสเซียรูปแบบ Avant-garde ปี1920 และต่อมาเขาก็เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงมาก ผลงานที่สำคัญของเขาคือ The Fishmonger , counter-reliefs, Tatlin's Tower

ประวัติชีวิตในวัยเยาว์

วลาดิมีร์ ตัตลิน เกิดในปี 1885 ที่กรุงมอสโก ประเทศรัซเซีย รับการศึกษาที่ประเทศยูเครน บิดามีอาชีพเป็นวิศวกรและมารดามีอาชีพเป็นกวี เขาใช้ชีวิตเป็นพ่อค้าทางเรือโดยการเดินทางไปยังประเทศต่างๆเช่น ตุรกี อียิปต์ เอเชียไมเนอร์ กรีซ อิตาลี และบัลแกเรีย[1]

ประวัติชีวิตในวัยทำงานและบั้นปลาย

ในปี ค.ศ.1902 ได้เข้าเรียนที่โรงเรียน Moscow School of Painting, Sculpture, and Architecture ถึง ค.ศ. 1904 จากนั้นจึงเข้าเรียนที่ Penza School of Art ซึ่งอยู่ในการดูแลของ Aleksey Afanas'ev ศิลปินที่มีแนวทางการสร้างงานด้านสังคมและการเมืองร่วมสมัย ซึ่งเป็นหนึ่งในแรงบันดาลใจให้กับแนวการสร้างงานของตัตลิน หลังจบการศึกษาที่ Penza School of Art ตัตลินได้กลับไปศึกษาที่ Moscow School of Painting, Sculpture, and Architecture และได้รู้จักคุ้นเคยกับศิลปิน Avant-garde หลายคน เช่น the Vesnin brothers, the Burluk brothers, Natalia Goncharova, Mikhail Larionov [2]

ค.ศ. 1913 ตัตลินได้เดินทางไปกรุงปารีส และได้เข้าเยี่ยมชมสตูดิโอของปีกัสโซ (Pablo Picasso)[3] ซึ่งขณะนั้นงานที่จัดว่าเด่นสะดุดตามากที่สุดคือ กีต้าร์ (Guitar ค.ศ. 1912-1913) ซึ่งสร้างขึ้นจากแผ่นเหล็กและเส้นลวด ลักษณะแบบประติมากรรมนูนสูง แขวนอยู่บนผนังห้อง ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างประติมากรรมโดยการประกอบชิ้นส่วนต่างๆขึ้นมา (Constructied Sculpture) และมีความสำคัญต่อแนวคิดต่อต้านธรรมชาติ (Anti Naturalism) ตัตลินได้รับอิทธิพลแนวความคิดแบบ cubism มาผสมผสานประยุกต์ ในการเลือกใช้วัสดุสร้างงาน และได้สร้าง The bottle ออกมาในปี 1913 ภาพวาดของเขาได้รับแรงบันดาลใจจาก โมเนต์ และ โกแกงด้วย คือภาพ The Nude (1913) แล้วพัฒนาผลงานไปในลักษณะสถาปัตยกรรมมากกว่าจิตรกรรมหรือประติมากรรม โดยให้ความสำคัญกับการเลือกชนิดวัสดุและเป็นวัสดุจากอุตสาหกรรมตามอุดมการณ์ของ Constructivism [4]

ในปี ค.ศ. 1915 เขาได้นำเอาแผ่นโลหะมาสร้างประติมากรรมแขวนนามธรรมชื่อ Counter Relifes ซึ่งได้รับอิทธิพลจากคิวบิสก์ยุคสังเคราะห์ ตัตลินแสวงหาความจริงในแง่ของวัตถุ เขาได้กลายเป็นผู้นำศิลปินกลุ่มคอนสตรัคติวิสม์ในรัสเซีย และเป็นคณะกรรมการปฏิรูปสถาบันศิลปะของสหภาพโซเวียต ตัตลินเริ่มรู้สึกว่างานประเภทนี้ยังไม่เพียงพอสำหรับสังคมใหม่ เขาและเพื่อนศิลปินเห็นว่าจำต้องนำเอาการคิดค้นและประสบการณ์ของศิลปินมาใช้สร้างวรรค์ชี้นำสังคม ศิลปินสามารถสอนให้ผู้สนใจได้รู้จักธรรมชาติของวัตถุและวิธีการนำมันมาใช้ พวกเขาเองสามารถเข้าไปยังโรงงานและพัฒนาแนวทางการออกแบบใหม่ เช่น เตาผิงที่มีประสิทธิภาพราคาถูก เสื้อผ้าสำหรับใส่ในฤดูหนาว เข้ากับบรรยากาศก่อนการปฏิวัติรัสเซีย ตัตลินได้วางแผนสร้าง อนุสาวรีย์นานาชาติที่สาม (The movement to the Third International ) หรือ Tatlin’s tower ในปีค.ศ. 1919-1920[5] หอสูงขนาดสองเท่าของตึกเอ็มไพร์สเตทแห่งนครนิวยอร์ก ด้วยเหล็ก แก้ว โลหะและกระจกเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของจักรวาล อนุสาวรีย์นี้เปรียบเสมือนโครงสร้างกระดูกเหล็ก สร้างคล้ายศูนย์ควบคุมยานอวกาศ การวางตำแหน่งของห้องเล็กๆในโครงส้รางนี้จะถูกสลับที่กันปีละครั้ง เพื่อจำลองการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ห้องเลขาธิการจะถูกสลับตำแหน่งทุก 28 วัน การออกแบบจึงซับซ้อนเพื่อรองรับวัตถุประสงค์นี้ ซึ่งความฝันแบบยูเปียของตัตลินไม่สอดคล้องกับนโยบายของเลนิน ผู้นำรัสเซีย ที่มุ่งไปที่การขยายตัวทางการค้าและผลผลิต ดังนั้นในไม่ช้าศิลปะรัสเซียจึงสูญเสียอิสระที่จะค้นหาความหมายใหม่ แม้เป็นเพียงแบบจำลอง แต่อนุสาวรีย์นานาชาติที่สามถือเป็นงานก่อสร้างที่ทำงานได้สมบูรณ์และเป็นสัญลักษณ์ของสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในอุดมคติยุคใหม่

หลังจากโครงการอนุสาวรีย์นานาชาติที่สาม ตัตลินให้ความสนใจกับการเรียนการสอนปี ค.ศ. 1920 เขาดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่ Svomas ในมอสโกและเป็นรักษาการหัวหน้าสตูดิโอของปริมาณ, วัสดุ, และการก่อสร้างที่ Svomas ในเปโตรกราด ปีค.ศ. 1923-1925 ได้เข้าทำงานในกรมวัฒนธรรมทางวัตถุ ในเปโตกราด ใน ปี 1923 ได้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมศิลปะในเปโตรกราด เป็นห้องปฏิบัติการสำหรับการศึกษาทดลองของศิลปะ ซึ่งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมศิลปะที่ เขาออกแบบฉากและดำเนินการการแสดง Velimir Khlebnikov บทกวีของ Zangezi ในปี 1923 อันเป็นความสำเร็จของ Constructivism และเปิดโลก Avant-garde ให้กว้างขึ้น

ผลงานที่กล่าวได้ว่าเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของตัตลินคือ "Le tatlin" [6]เครื่องร่อนที่ขับเคลื่อนโดยใช้กำลังคน จากศึกษาการบินและโครงสร้างปีกของนก โดยเชื่อว่ามนุษย์จะสามารถบินเลียนแบบนกได้ สร้างจากกระดูกปลาวาฬและผ้าไหม โดยได้รับความร่วมมือจากศัลยแพทย์และนักบิน ตัตลินเสียชีวิตอย่างฉับพลันจากอาการอาหารเป็นพิษ ใน วันที่ 31 พฤษภาคม ปีค.ศ. 1953 โดยร่างของเขาถูกฝังอยู่ที่ Novodevichy Cemetery กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย

แนวความคิดของทาทลิน

ส่วนมากผลงานของ ตัตลิน นั้นจะแสดงออกในรูปแบบที่ไม่หวนไปสู่แบบดั้งเดิม แต่ผลิตเพื่อการใช้งานจริงขึ้นซึ่งสอดคล้องกับศิลปะเพื่อการปฏิวัติรัสเซียในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งศิลปินยุคถัดจากเขาประสบความสำเร็จโดยการใช้ศิลปะเพื่อเป็นสื่อในการผลิตโฆษณาและสร้างกระแสนิยมของรัฐ ผลงานของตัตลิน นับเป็นเวลาสำคัญที่จะเปลี่ยนแปลงรูปแบบของศิลปะรัสเซีย จากการทดลองสมัยใหม่กลายเป็นการออกแบบเชิงใช้งานได้จริง

ตัตลิน เชื่อว่า วัสดุจะใช้งานเต็มประสิทธิภาพได้ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้งานของศิลปิน ในส่วนนี้มีหลักจริยธรรมที่ว่า “Truth to materials” คือแนวความคิดที่เป็นการเชื่อมผ่านประวัติศาสตร์ของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ แต่วิธีของตัตลินนั้นยังคงความชัดเจนที่จะแสดงผลงานออกมาให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนจากการนำวัสดุมาใช้สำหรับแปลภาษาหรือบอกลักษณะ มาเน้นที่การใช้งานและทำให้กลายเป็นเครื่องจักรแทน การเป็นนักออกแบบวาดภาพของตัตลินทำให้เขาเห็นถึงความแตกต่างในตัววัสดุแต่ละชนิด ซึ่งเมื่อเขาได้เดินทางไปยังปารีสในปี 1913 แเละได้เห็นผลงานรูปแบบ Cubism ของ ปีกัสโซทำให้เขาตระหนักถึงการทำงานตลอดชีวิตของเขาและผลงานส่วนมากของเขานั้นเป็นการแสดงออกมาในลักษณะเส้นโค้งดังจะเห็นได้จาก “Counter-reliefs” (1914) และทำให้เกิดผลงานที่สำคัญอย่าง Tatlin's Tower

อย่างไรก็ตามแนวคิดของตัตลินถือเป็นแนวคิดทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยศิลปินเอง (Constructivists) ส่งอิทธิพลต่อศิลปินในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษ 20 โดยการใช้ศิลปะในการปฏิวัติสังคม และศิลปินกลุ่มสำคัญอย่างศิลปินแนวเรียกร้องสิทธิสตรีผ่านรูปแบบศิลปะ ซึ่งแนวความคิดแบบ Constructivism เป็นแรงบันดาลใจโดยตรงแสดงให้เห็นถึงความ “สูง” และ “ต่ำ” ของศิลปะและวัฒนธรรม[3]

วลีประจำตัวของตัตลิน

“ไม่มีเก่า ไม่มีใหม่ แต่มีความจำเป็น”

“การตรวจสอบวัสดุ น้ำหนัก และการก่อสร้างทำให้มันเป็นไปได้ในปี 1918 เริ่มจากการรวมวัสดุที่มีความคลาสสิกทันสมัยอย่างเหล็กและกระจก เปรียบเทียบกับความเก่าแก่เคร่งครัดอย่างหินอ่อนโบราณด้วยวิธีนี้ทำให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียว อย่าง “Monument to the Third International"

“การทำงานและหน้าที่การใช้งานของเฟอนิเจอร์เป็นเพื่อการเริ่มต้นเท่านั้น การแสดงความทันสมัย ความจำเป็นในชีวิตประจำวัน ความคิดและการพัฒนา แสดงออกได้โดยแค่ศิลปินใส่ความรู้สึกในการสร้างแบบเผินๆ แต่แสดงออกถึงความเป็นสมัยใหม่และการเข้าใจในเหตุและผลของสิ่งนั้น”

“ศิลปะไม่ใช่สิ่งที่วางไว้ในที่ศักดิ์สิทธิ์หรือเลอค่า ไม่ได้ใช้งานอะไรได้จริง นั่นเป็นเพียงคำปลอบใจและเหตุผลของคนขี้เกียจ ศิลปะนั้นควรมีอยู่ได้ทุกที่ที่มีชีวิตอยู่”

แบบจำลอง Tatlin's Tower ที่รอยัลอะคาเดมีออฟอาตส์ หรือ ราชสถาบันศิลปะ,กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร.

ผลงานที่โดดเด่น

  • 1910 – " Artist's model "
  • 1911 – “The Fishmonger" [7]

เป็นการเนเส้นโค้งที่แสดงออกบนผืนผ้าใบ หนึ่งในผลงาน the Knave of Diamonds Exhibition เป็นการอธิบายอย่างเข้มข้นระหว่าง David Burlyuk คนที่สนับสนุนศิลปะตะวันตกและ Natalia Goncharova คนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซีย การอภิปรายนี้นำไปสู่ "The Donkey's Tail” กลุ่มคู่แข่งเน้นรัสเซียและลักษณะพื้นบ้านซึ่งเขียนโดยตัตลิน

  • 1911-1912 – " The Sailor (Self Portrait) "
  • 1912 – " Portrait of the artist " [8]
  • 1919-1920 – "Tatlin's Tower" [9]

หรือโครงการ the Monument to the Third International เป็นการสร้างอนุสาวรีย์ที่มีขนาดใหญ่มาก ตัตลินต้องการสร้างงานสถาปัตยกรรมที่มีความทันสมัย

  • 1930-1932 – " Le tatlin " [10]

แหล่งอ้างอิง

  1. http://en.wikipedia.org/wiki/Vladimir_Tatlin | Lynton, Norbert (2009). Tatlin's Tower: Monument to Revolution. New Haven: Yale University Press. p. 1. ISBN 0300111304.
  2. โลกศิลปะศตวรรษที่ 20. จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2552
  3. 3.0 3.1 http://www.theartstory.org/artist-tatlin-vladimir.htm
  4. http://max.mmlc.northwestern.edu/mdenner/Drama/visualarts/Constructivism/24thirdinternational.html |Constructivism. Retrieved 2014-11-29.
  5. http://en.wikipedia.org/wiki/Tatlin%27s_Tower |Honour, H. and Fleming, J. (2009) A World History of Art. 7th edn. London: Laurence King Publishing, p. 819. ISBN 9781856695848
  6. http://www.wsws.org/en/articles/2012/06/tat1-j19.html | Tatlin’s “new art for a new world”
  7. http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255557 |The Fishmonger
  8. http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255551 | Portrait of the artist
  9. http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255548 | Tatlin's Tower
  10. http://www.wikiart.org/en/vladimir-tatlin#supersized-featured-255545 | Le tatlin