ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาการเพ้อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''อาการเพ้อ''' ({{lang-en|delirium}}) หรือ'''ภาวะสับสนเฉียบพลัน''' เป็นการเสื่อม...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''อาการเพ้อ''' ({{lang-en|delirium}}) หรือ'''ภาวะสับสนเฉียบพลัน''' เป็นการเสื่อมจากระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้เดิมที่เคยมีอันมีสาเหตุจากพยาธิสภาพทางกาย ตรงแบบเป็นขึ้น ๆ ลง ๆ ขาดความใส่ใจและความไม่สมประกอบของพฤติกรรมอย่างรุนแรงทั่วไป ตรงแบบเกี่ยวข้องกับการขาดการรู้อย่างอื่น [[สภาวะตื่นตัว]]เปลี่ยนแปลง (ตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม) การขาดการรับรู้ วงจรหลับ-ตื่นเปลี่ยนแปลงและลักษณะโรคจิตอย่าง[[ประสาทหลอน]]และ[[อาการหลงผิด]]
'''อาการเพ้อ''' ({{lang-en|delirium}}) หรือ'''ภาวะสับสนเฉียบพลัน''' ({{lang-en|acute confusional state}}) เป็นการเสื่อมจากระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้เดิมที่เคยมีอันมีสาเหตุจากพยาธิสภาพทางกาย ตรงแบบเป็นขึ้น ๆ ลง ๆ ขาดความใส่ใจและความไม่สมประกอบของพฤติกรรมอย่างรุนแรงทั่วไป ตรงแบบเกี่ยวข้องกับการขาดการรู้อย่างอื่น [[สภาวะตื่นตัว]]เปลี่ยนแปลง (ตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม) การขาดการรับรู้ วงจรหลับ-ตื่นเปลี่ยนแปลงและลักษณะโรคจิตอย่าง[[ประสาทหลอน]]และ[[อาการหลงผิด]]

อาการเพ้อเองมิใช่[[โรค]] แต่เป็น[[กลุ่มอาการ]]ทางคลินิก ซึ่งมีสาเหตุจากโรคพื้นเดิม จากยารักษาโรคที่ให้ระหว่างการรักษาโรคนั้นในระยะวิกฤต จากปัญหาใหม่ทีมีการคิดหรือจากปัจจัยเหล่านี้ตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปผสมกัน เกณฑ์การวินิจฉัยอาการเพ้อไม่สามารถทำได้หากไม่มีการประเมินหรือความรู้มาก่อนซึ่งระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้ของบุคคลที่เป็นนั้น กล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ผู้พิการทางจิตหรือผู้ป่วย[[โรคสมองเสื่อม]]ซึ่งกำลังทำงานที่ระดับความสามารถทางจิตเส้นฐานจะถูกคาดว่าดูมีอาการเพ้อหากไม่มีสถานะการทำหน้าที่ของจิตเส้นฐานให้เปรียบเทียบ

อาการเพ้ออาจแสดงตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม ในรูปตื่นตัวมาก อาการแสดงเป็นความสับสนและความงุนงงสับสนรุนแรง ดำเนินโดยมีการเริ่มต้นค่อนข้างเร็วและมีความรุนแรงขึ้น ๆ ลง ๆ ในรูปตื่นตัวน้อย อาการแสดงโดยการถอนตัวจากอันตรกิริยากับโลกภายนอกเฉียบพลันเท่ากัน อาการเพ้ออาจเกิดในรูปผสม ซึ่งบางคนอาจขึ้น ๆ ลง ๆ ระหว่างทั้งระยะตื่นตัวมากและตื่นตัวน้อย อาการเพ้อเป็นกลุ่มอาการซึ่งเกิดในผู้สูงอายุมากกว่า ทว่า พบว่าเกิดในผู้ป่วยอายุน้อยและสูงอายุได้ในอัตราพอ ๆ กันเมื่อเกิดในระหว่างการเจ็บป่วยวิกฤต

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:53, 22 พฤศจิกายน 2557

อาการเพ้อ (อังกฤษ: delirium) หรือภาวะสับสนเฉียบพลัน (อังกฤษ: acute confusional state) เป็นการเสื่อมจากระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้เดิมที่เคยมีอันมีสาเหตุจากพยาธิสภาพทางกาย ตรงแบบเป็นขึ้น ๆ ลง ๆ ขาดความใส่ใจและความไม่สมประกอบของพฤติกรรมอย่างรุนแรงทั่วไป ตรงแบบเกี่ยวข้องกับการขาดการรู้อย่างอื่น สภาวะตื่นตัวเปลี่ยนแปลง (ตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม) การขาดการรับรู้ วงจรหลับ-ตื่นเปลี่ยนแปลงและลักษณะโรคจิตอย่างประสาทหลอนและอาการหลงผิด

อาการเพ้อเองมิใช่โรค แต่เป็นกลุ่มอาการทางคลินิก ซึ่งมีสาเหตุจากโรคพื้นเดิม จากยารักษาโรคที่ให้ระหว่างการรักษาโรคนั้นในระยะวิกฤต จากปัญหาใหม่ทีมีการคิดหรือจากปัจจัยเหล่านี้ตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปผสมกัน เกณฑ์การวินิจฉัยอาการเพ้อไม่สามารถทำได้หากไม่มีการประเมินหรือความรู้มาก่อนซึ่งระดับเส้นฐานการทำหน้าที่รู้ของบุคคลที่เป็นนั้น กล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ผู้พิการทางจิตหรือผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมซึ่งกำลังทำงานที่ระดับความสามารถทางจิตเส้นฐานจะถูกคาดว่าดูมีอาการเพ้อหากไม่มีสถานะการทำหน้าที่ของจิตเส้นฐานให้เปรียบเทียบ

อาการเพ้ออาจแสดงตื่นตัวมาก ตื่นตัวน้อยหรือผสม ในรูปตื่นตัวมาก อาการแสดงเป็นความสับสนและความงุนงงสับสนรุนแรง ดำเนินโดยมีการเริ่มต้นค่อนข้างเร็วและมีความรุนแรงขึ้น ๆ ลง ๆ ในรูปตื่นตัวน้อย อาการแสดงโดยการถอนตัวจากอันตรกิริยากับโลกภายนอกเฉียบพลันเท่ากัน อาการเพ้ออาจเกิดในรูปผสม ซึ่งบางคนอาจขึ้น ๆ ลง ๆ ระหว่างทั้งระยะตื่นตัวมากและตื่นตัวน้อย อาการเพ้อเป็นกลุ่มอาการซึ่งเกิดในผู้สูงอายุมากกว่า ทว่า พบว่าเกิดในผู้ป่วยอายุน้อยและสูงอายุได้ในอัตราพอ ๆ กันเมื่อเกิดในระหว่างการเจ็บป่วยวิกฤต