ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาเรล ชาเปก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้าน[[ระบอบนาซี]]และ[[ฟาสซิสต์]] เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังจะถูก[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]ยึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่[[ปราก]] เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการ[[ปอดบวม]] รวมอายุได้ 48 ปี โจเซฟ ชาเปก พี่ชายของเขาเสียชีวิตในอีก 7 ปีต่อมา ที่[[ค่ายกักกันนาซี|ค่ายกักกัน]]เบอร์เกน-เบลเซน ทางตอนเหนือของ[[เยอรมนี]]
นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้าน[[ระบอบนาซี]]และ[[ฟาสซิสต์]] เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังจะถูก[[นาซีเยอรมนี|นาซี]]ยึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่[[ปราก]] เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการ[[ปอดบวม]] รวมอายุได้ 48 ปี โจเซฟ ชาเปก พี่ชายของเขาเสียชีวิตในอีก 7 ปีต่อมา ที่[[ค่ายกักกันนาซี|ค่ายกักกัน]]เบอร์เกน-เบลเซน ทางตอนเหนือของ[[เยอรมนี]]


== ประวัติ ==
กาเรล ชาเปก เกิดเมื่อ ค.ศ. 1890 ในหมู่บ้านบนเทือกเขาของ[[โบฮีเมีย]]ชื่อว่า [[Malé Svatoňovice]] มารดาเขาเป็นคนอ่อนไหวและเจ้าอารมณ์ ส่วนบิดาไม่ค่อยได้ใกล้ชิดแต่ก็เอ็นดูเขา กาเรลเป็นบุตรคนเล็กจากพี่น้องรวมสามคน กาเรลรักษาความสัมพันธ์อันดีกับพี่ชาย Josef โดยอาศัยอยู่ด้วยกันและเขียนงานด้วยกันมาตลอดชีวิต<ref name=Klima>{{Cite book|last=Klima|first=Ivan|title=Karel Čapek: Life and Work|year=2001|publisher=Catbird Press|location=New Haven, CT|isbn=0-945774-53-2|pages=191–200}}</ref>

กาเรลเริ่มหลงไหลในทัศนศิลป์เมื่อเป็นวัยรุ่น โดยเฉพาะ[[ลัทธิคิวบิสม์]] เขาศึกษาที่ [[Charles University]] ในกรุง Prague และที่ [[Sorbonne]] ในกรุงปารีส<ref name=Tobranova-Kuhnnova>{{Cite book|last=Tobranova-Kuhnnova|first=Sarka|title=Believe in People: The essential Karel Capek|year=1988|publisher=Faber and Faber|location=London|isbn=978-0-571-23162-1|pages=xvii&nbsp;– xxxvi}}</ref> เขาได้รับการยกเว้นการเกณฑ์ทหารเนื่องจากปัญหากระดูกสันหลังซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังตลอดชีวิตของเขา กาเรลอาศัยอยู่ในกรงุปรากช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และความเห็นทางการเมืองของเขาเปลี่ยนไปเพราะสงคราม ในฐานะสื่อมวลชนรุ่นใหม่เขาเริ่มเขียนงานในหัวข้อชาตินิยม, [[ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ]]<ref name="js">[[James Sallis]], Review of '' Karel Capek: Life and Work'' by Ivan Klima.
''The Magazine of Fantasy and Science Fiction'', (pp. 37–40).</ref> และบริโภคนิยม<!-- Through social circles, the young writer developed close relationships with many of the political leaders of the nascent Czechoslovak state. This included [[Tomáš Garrigue Masaryk]] and his son [[Jan Masaryk|Jan]], who would later become foreign secretary.

His early attempts at fiction were mostly plays written with brother [[Josef Čapek|Josef]].{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน|date=July 2012}} Čapek's first international success was ''[[R.U.R.|Rossum's Universal Robots]]'', a dystopian work about a bad day at a factory populated with [[sentient]] [[แอนดรอยด์|androids]]. The play was translated into English in 1922, and was being performed in the UK and America by 1923. Throughout the 1920s, Čapek worked in many writing genres, producing both fiction and non-fiction, but worked primarily as a journalist. .<ref name="js" />
In the 1930s, Čapek's work focused on the threat of brutal [[ระบอบนาซี]] and fascist dictatorships; by
the mid-1930s, Čapek had become "an outspoken anti-fascist".<ref name="js" /> His most productive years were during the [[History of Czechoslovakia (1918–1938)|The First Republic of Czechoslovakia]] (1918–1938). He wrote ''Talks with T. G. Masaryk''<ref>{{google books|e-udK8SWIQEC|Talks with T. G. Masaryk}}</ref>&nbsp;– [[Tomáš Garrigue Masaryk|Masaryk]] was a Czechoslovak patriot, the first [[President of Czechoslovakia]], and a regular guest at Čapek's "[[Friday Men]]" [[Garden party|garden parties]] for leading Czech intellectuals. Čapek was also a member of Masaryk's ''[[Hrad (politics)|Hrad]]'' political network. This extraordinary relationship between the writer and the political leader may be unique. He also became a member of [[International PEN]] and established, and was first president of, the Czechoslovak Pen Club.<ref>Derek Sayer,
''The Coasts of Bohemia: A Czech History''. Princeton University Press, 2000
ISBN 069105052X, (p.22-3).</ref>-->

Soon after 1938 it became clear that the Western allies (France, Great Britain) had failed to fulfill the agreements (see [[การทรยศโดยชาติตะวันตก]]), and failed to defend Czechoslovakia against [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]. Karel Čapek refused to leave his country&nbsp;– despite the fact that the Nazi [[เกสตาโป]] had named him Czechoslovakia's "public enemy number two".{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน|date=July 2012}} Although he suffered all his life from the condition [[spondyloarthritis]], Karel Čapek died of [[ปอดบวม|double pneumonia]], on 25 December 1938, shortly after part of Czechoslovakia was annexed by Nazi Germany following the so-called [[ความตกลงมิวนิก]]. Čapek is buried at the [[Vyšehrad cemetery]] in Prague. His brother [[Josef Čapek]], a painter and writer, died in the Nazi [[Bergen-Belsen concentration camp|Bergen-Belsen]] [[concentration camp]].<ref>"...his brother and artistic collaborator Josef met his death in Bergen-Belsen."
[[Adam Roberts (British writer)|Adam Roberts]], "Introduction", to ''RUR & War with the Newts''. London, Gollancz, 2011,
ISBN 0575099453 (p.vi).</ref>
==ผลงาน==
==ผลงาน==
===บทละคร===
===บทละคร===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:13, 9 พฤศจิกายน 2557

กาเรล ชาเปก
เกิด9 มกราคม พ.ศ. 2433
มาเล สวาโตโยวิตเซ, โบฮีเมีย, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี
เสียชีวิต25 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(อายุ 48 ปี)
ปราก, สาธารณรัฐเชโกสโลวัก
อาชีพนักเขียน
สัญชาติเช็ก
ช่วงเวลาพ.ศ. 2463-2481
คู่สมรสโอลกา ไชน์ฟูโกวา
(สมรส พ.ศ. 2478)

ลายมือชื่อ

กาเรล ชาเปก (อังกฤษ: Karel Čapek, ภาษาเช็ก: [ˈkarɛl ˈtʃapɛk] ( ฟังเสียง); 9 มกราคม พ.ศ. 243325 ธันวาคม พ.ศ. 2481) เป็นนักเขียนชาวเช็ก เขาเป็นผู้ริเริ่มใช้คำว่า robot[1] (หุ่นยนต์) เป็นครั้งแรก ซึ่งปรากฏอยู่ในบทละครเรื่อง R.U.R.

กาเรล ชาเปก เกิดที่หมู่บ้านแห่งหนึ่งในโบฮีเมีย จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันคือ สาธารณรัฐเช็ก) เมื่อ พ.ศ. 2433 เขาเป็นคนสุดท้องจากจำนวนพี่น้อง 3 คน สมัยยังเป็นวัยรุ่น ชาเปกสนใจวิชาทัศนศิลป์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดคิวบิสม์ เขาเข้าศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่มหาวิทยาลัยชาลส์ที่กรุงปราก และที่ซอร์บอนน์ในฝรั่งเศส ชาเปกไม่ได้เข้ารับราชการทหารตอนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากมีปัญหาที่กระดูกสันหลัง หลังสำเร็จการศึกษา เขาทำงานเป็นนักหนังสือพิมพ์ และเริ่มเขียนหนังสือร่วมกับพี่ชาย โจเซฟ ชาเปก ในปี พ.ศ. 2463 ชาเปกได้ตีพิมพ์ R.U.R. (Rosumovi Univerzální Roboti) ซึ่งพูดถึงสภาพสังคมที่หุ่นยนต์ทำงานให้กับมนุษย์ จนกระทั่งหุ่นยนต์มีความรู้สึกนึกคิดและร่วมกันต่อต้านมนุษย์ ความสำคัญของบทละครนี้คือ ชาเปกใช้คำว่า robot (ที่คิดค้นโดยพี่ชาย[2]) เรียกหุ่นยนต์เป็นครั้งแรก (หุ่นยนต์ที่ชาเปกกล่าวถึงคือ แอนดรอยด์[3]ในปัจจุบัน) R.U.R. ได้รับความนิยมอย่างสูง จนแปลไปแล้วกว่า 30 ภาษาทั่วโลก[4] รวมถึงภาษาอังกฤษ (ในชื่อ Rossum’s Universal Robots)

นอกจากแนววิทยาศาสตร์แล้ว ชาเปกยังเขียนบทความทางการเมืองอีกด้วย โดยเขามีแนวคิดต่อต้านระบอบนาซีและฟาสซิสต์ เขาปฏิเสธที่จะลี้ภัยในช่วงที่เชโกสโลวาเกียกำลังจะถูกนาซียึด ด้วยปัญหาสุขภาพ ชาเปกเสียชีวิตที่ปราก เมื่อ พ.ศ. 2481 จากอาการปอดบวม รวมอายุได้ 48 ปี โจเซฟ ชาเปก พี่ชายของเขาเสียชีวิตในอีก 7 ปีต่อมา ที่ค่ายกักกันเบอร์เกน-เบลเซน ทางตอนเหนือของเยอรมนี

ประวัติ

กาเรล ชาเปก เกิดเมื่อ ค.ศ. 1890 ในหมู่บ้านบนเทือกเขาของโบฮีเมียชื่อว่า Malé Svatoňovice มารดาเขาเป็นคนอ่อนไหวและเจ้าอารมณ์ ส่วนบิดาไม่ค่อยได้ใกล้ชิดแต่ก็เอ็นดูเขา กาเรลเป็นบุตรคนเล็กจากพี่น้องรวมสามคน กาเรลรักษาความสัมพันธ์อันดีกับพี่ชาย Josef โดยอาศัยอยู่ด้วยกันและเขียนงานด้วยกันมาตลอดชีวิต[5]

กาเรลเริ่มหลงไหลในทัศนศิลป์เมื่อเป็นวัยรุ่น โดยเฉพาะลัทธิคิวบิสม์ เขาศึกษาที่ Charles University ในกรุง Prague และที่ Sorbonne ในกรุงปารีส[6] เขาได้รับการยกเว้นการเกณฑ์ทหารเนื่องจากปัญหากระดูกสันหลังซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังตลอดชีวิตของเขา กาเรลอาศัยอยู่ในกรงุปรากช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และความเห็นทางการเมืองของเขาเปลี่ยนไปเพราะสงคราม ในฐานะสื่อมวลชนรุ่นใหม่เขาเริ่มเขียนงานในหัวข้อชาตินิยม, ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ[7] และบริโภคนิยม

Soon after 1938 it became clear that the Western allies (France, Great Britain) had failed to fulfill the agreements (see การทรยศโดยชาติตะวันตก), and failed to defend Czechoslovakia against อดอล์ฟ ฮิตเลอร์. Karel Čapek refused to leave his country – despite the fact that the Nazi เกสตาโป had named him Czechoslovakia's "public enemy number two".[ต้องการอ้างอิง] Although he suffered all his life from the condition spondyloarthritis, Karel Čapek died of double pneumonia, on 25 December 1938, shortly after part of Czechoslovakia was annexed by Nazi Germany following the so-called ความตกลงมิวนิก. Čapek is buried at the Vyšehrad cemetery in Prague. His brother Josef Čapek, a painter and writer, died in the Nazi Bergen-Belsen concentration camp.[8]

ผลงาน

บทละคร

  • 1920 – R.U.R. (Rossumovi univerzální roboti; แปลไทยในชื่อ ห.ส.ร. หุ่นยนต์สากลราวี โดย ปราบดา หยุ่น[9])
  • 1921 – Pictures from the Insects' Life (Ze života hmyzu)
  • 1922 – The Makropulos Affair (Věc Makropulos)
  • 1927 – Adam the Creator (Adam stvořitel)
  • 1937 – The White Disease (Bílá nemoc)
  • 1938 – The Mother (Matka)

นวนิยาย

  • 1922 – The Absolute at Large (Továrna na absolutno)
  • 1922 – Krakatit
  • 1933 – Hordubal
  • 1934 – Meteor (Povětroň)
  • 1934 – An Ordinary Life (Obyčejný život)
  • 1936 – War with the Newts (Válka s mloky)
  • 1939 – Life and Work of the Composer Foltýn (Život a dílo skladatele Foltýna; ตีพิมพ์หลังเสียชีวิต)

อ้างอิง

  1. ความหมาย ประวัติ และวิวัฒนาการของหุ่นยนต์ โดย สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน
  2. The artistic genius of Karel and Josef Čapek
  3. Karel Capek
  4. Čapek's R.U.R. by Voyen Koreis
  5. Klima, Ivan (2001). Karel Čapek: Life and Work. New Haven, CT: Catbird Press. pp. 191–200. ISBN 0-945774-53-2.
  6. Tobranova-Kuhnnova, Sarka (1988). Believe in People: The essential Karel Capek. London: Faber and Faber. pp. xvii–xxxvi. ISBN 978-0-571-23162-1.
  7. James Sallis, Review of Karel Capek: Life and Work by Ivan Klima. The Magazine of Fantasy and Science Fiction, (pp. 37–40).
  8. "...his brother and artistic collaborator Josef met his death in Bergen-Belsen." Adam Roberts, "Introduction", to RUR & War with the Newts. London, Gollancz, 2011, ISBN 0575099453 (p.vi).
  9. ห.ส.ร. (หุ่นยนต์สากลราวี)

แหล่งข้อมูลอื่น